แนวข้อสอบระเบียบข้าราชการพลเรือน

แจกแนวข้อสอบระเยียบข้าราชการพลเรือน
เเนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน2551
1.  พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือนที่ใช้บังคับก่อนพระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ คือ ฉบับใด
                1.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
                2.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2537
                3.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2538
                4.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2544

2.  บุคคลในตำแหน่งตามข้อใดทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
                1.  นายกรัฐมนตรี
                2.  รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
                3.  เลขาธิการ ก.พ.
                4.  ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 2.

3.  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละกี่ปี
 1.  2 ปี                              2.  3 ปี                                3.  4 ปี                                4. 5 ปี

4.  ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.พ.
 1.  รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือนของข้าราชการพลเรือน
 2.  พิจารณาโทษของข้าราชการพลเรือน
 3.  ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของส่วนราชการ
 4.  ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล

5.  บุคลตามข้อใดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
 1.  นายกรัฐมนตรี
 2.  ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
 3.  เลขาธิการ ก.พ.
 4.  ประธานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

6.  ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสำนักงาน ก.พ.
1.  เป็นศูนย์ข้อมูลทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
2.  ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของส่วนราชการ
3.  เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานในหน้าที่ของ ก.พ. และ ก.พ.ค.
 และดำเนินการตามหน้าที่ ก.พ. หรือ ก.พ.ค. มอบหมาย
4.  ดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาทะเบียนประวัติและการควบคุมเกษียณอายุของข้าราชการพลเรือน

7.  ข้อใดเป็นคำเรียกโดยย่อของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
1.  ก.พ.                            2.  ก.พ.ร.                                             3.  ก.พ.ค.                             4.  อ.ก.พ.

8.  ประธานคณะอนุกรรมการสามัญประจำกระทรวง คือ บุคคลตามข้อใด
1.  รัฐมนตรีเจ้าสังกัด                                                    2.  ปลัดกระทรวง
3.  อธิบดี                                                                     4.  ผู้ทรงคุณวุฒิที่รัฐมนตรีมอบหมาย

9.  ข้อใดหมายถึง " อ.ก.พ. สามัญ "
1.  อ.ก.พ.กระทรวง           2.  อ.ก.พ.กรม                    3.  อ.ก.พ.จังหวัด                                4.  ถูกทุกข้อ

10. อำนาจในการพิจารณาเกลี่ยอัตรากำลังระหว่างส่วนราชการต่างๆภายในกระทรวง เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานใดอ.วันนรัตน์ เเอ็คกรุ๊ป
1.  ก.พ.                  2.  อ.ก.พ.กระทรวง          3.  อ.ก.พ.กรม                     4.  อ.ก.พ.จังหวัด

11. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ( ก.พ.ค. )
1.  ก.พ.ค. ประกอบด้วยกรรมการ 7 คน
2.  กรรมการ ก.พ.ค. มาจากการคัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค.
3.  กรรมการ ก.พ.ค. มาจากการแต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี
4.  เลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการ ก.พ.ค.

12. ผู้ที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ก.พ.ค. ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด(แอ๊คกรุ๊ป)
1.  40 ปี                            2.  45 ปี                          3.  50 ปี                            4.  55 ปี

13. บุคลในข้อใดทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค.
1.  นายกรัฐมนตรี                                                          2.  ประธานศาลฎีกา
3.  ประธานศาลปกครองสูงสุด                                  4.  เลขาธิการ ก.พ.

14. คุณสมบัติลักษณะของบุคคลตามข้อใดอาจได้รับการคัดเลือกให้เป็นกรรมการ ก.พ.ค. ได้
1.  เป็นหรือเคยเป็นกรรมการกฤษฎีกา                     2.  เป็นข้าราชการ
3.  เป็นกรรมการในรัฐวิสาหกิจ                                 4.  เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง



15. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม มีวาระการดำรงตำแหน่งตามข้อใด
1.  3 ปี                                2.  4 ปี                     3.  5 ปี                   4.  6 ปี

16. กรรมการ ก.พ.ค. ต้องมีอายุไม่เกินกำหนดตามข้อใด
1.  60 ปีบริบูรณ์               2.  65 ปีบริบูรณ์                 3.  70 ปีบริบูรณ์                4.  75 ปีบริบูรณ์

17. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ ก.พ.ค.  อ.กษิระact0089-8167804
1.  เสนอแนะต่อ ก.พ. เพื่อให้ ก.พ. ดำเนินการจัดให้มีหรือปรับปรุงนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนที่เกี่ยวกับการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
2.  พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ของผู้ถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
3.  พิจารณาโทษทางวินัยผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
4.  พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรม

18. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับข้าราชการพลเรือน
1.  ข้าราชการพลเรือนมีเพียงประเภทเดียว คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
2.  ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนวิสามัญ
3.  ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนในพระองค์
4.  ข้าราชการพลเรือนมี 3 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือนวิสามัญและข้าราชการพลเรือนในพระองค์

19. ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
1.  17 ปี                                 2.  18 ปี                               3.  19 ปี                             4.  20 ปี

20. วันเวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการพลเรือน เป็นไปตามข้อใด
1.  เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด                                     2.  เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีกำหนด
3.  เป็นไปตามที่เลขานุการ ก.พ. กำหนด                                4.  เป็นไปตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด

21. ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
1.  2 ประเภท                       2.  3 ประเภท                    3.  4 ประเภท                         4.  5 ประเภท

22. ตำแหน่งของราชการพลเรือนในข้อใดไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร
1.  ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงและกรม
2.  หัวหน้าส่วนราชการต่ำกว่าระดับกรม
3.  รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง
4.  รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

23. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือน
1.  ตำแหน่งประเภทบริหาร แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง
2.  ตำแหน่งประเภทอำนวยการ แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง
3.  ตำแหน่งประเภทวิชาการ แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง(แอ๊คกรุ๊ป081-445-1423)
4.  ทุกข้อไม่ถูกต้อง




24. ข้อใดไม่ใช่ระดับที่กำหนดไว้สำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ
1.  ระดับปฏิบัติการ
2.  ระดับชำนาญการ และรำดับชำนาญการพิเศษ
3.  ระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ
4.  ระดับปฏิบัติงาน และระดับชำนาญงาน

25. รายการในข้อใดกำหนดให้ระบุไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ ก.พ. จัดทำขึ้น
1.  ชื่อตำแหน่งในสายงาน
2.. หน้าที่ความรับผิดชอบหลักของตำแหน่ง-ปลัดศุภวัฒน์081-362-9602
3.  คุณสมบัติเฉพาะของตำแหน่ง
4.  ทุกข้อเป็นรายการที่กำหนดไว้ให้ต้องระบุในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

26. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับข้าราชการพลเรือน
1.  ข้าราชการพลเรือนมีเพียงประเภทเดียว คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ
2.  ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนวิสามัญ
3.  ข้าราชการพลเรือนมี 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ และข้าราชการพลเรือนในพระองค์
4.  ข้าราชการพลเรือนมี 3 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้าราชการพลเรือนวิสามัญและข้าราชการพลเรือนในพระองค์

19. ผู้ที่จะเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าเท่าใด
1.  17 ปี                                 2.  18 ปี                               3.  19 ปี                             4.  20 ปี

20. วันเวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการพลเรือน เป็นไปตามข้อใด
1.  เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด                                     2.  เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีกำหนด
3.  เป็นไปตามที่เลขานุการ ก.พ. กำหนด                                4.  เป็นไปตามที่หัวหน้าส่วนราชการกำหนด

21. ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
1.  2 ประเภท                       2.  3 ประเภท                       3.  4 ประเภท                       4.  5 ประเภท

22. ตำแหน่งของราชการพลเรือนในข้อใดไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร
1.  ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงและกรม
2.  หัวหน้าส่วนราชการต่ำกว่าระดับกรม
3.  รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง
4.  รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกรม

23. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือน
1.  ตำแหน่งประเภทบริหาร แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง
2.  ตำแหน่งประเภทอำนวยการ แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง
3.  ตำแหน่งประเภทวิชาการ แบ่งเป็น ระดับต้นกับระดับสูง(แอ๊คกรุ๊ป081-445-1423)
4.  ทุกข้อไม่ถูกต้อง




24. ข้อใดไม่ใช่ระดับที่กำหนดไว้สำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ
1.  ระดับปฏิบัติการ
2.  ระดับชำนาญการ และรำดับชำนาญการพิเศษ
3.  ระดับเชี่ยวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ
4.  ระดับปฏิบัติงาน และระดับชำนาญงาน

25. รายการในข้อใดกำหนดให้ระบุไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ ก.พ. จัดทำขึ้น
1.  ชื่อตำแหน่งในสายงาน
2.. หน้าที่ความรับผิดชอบหลักของตำแหน่ง-ปลัดศุภวัฒน์081-362-9602
3.  คุณสมบัติเฉพาะของตำแหน่ง
4.  ทุกข้อเป็นรายการที่กำหนดไว้ให้ต้องระบุในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

26. การปรับเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบเป็นอำนาจของใคร
1.  คณะรัฐมนตรี           2.  นายกรัฐมนตรี               3.  เลขาธิการ ก.พ.             4.  หัวหน้าส่วนราชการ

27. การปรับเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบให้กระทำตามข้อใด
1.  ตราพระราชบัญญัติ                                                                 2.  ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
3.  ออกเป็นกฎกระทรวง                                                             4.  จัดทำเป็นประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี

28. การปรับเงินเดือนประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบเป็นอำนาจของใคร
1.  คณะรัฐมนตรี           2.  นายกรัฐมนตรี               3.  เลขาธิการ ก.พ.             4.  หัวหน้าส่วนราชการ


29. การปรับเงินเดือนประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญเพิ่มไม่เกินร้อยละสิบกระทำตามข้อใด
1.  ตราพระราชบัญญัติ                                                                 2.  ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
3.  ออกเป็นกฎกระทรวง                                                             4.  จัดทำเป็นประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี

30. ภายใต้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 คณะรัฐมนตรีมีอำนาจพิจารณาปรับเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงหรือเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญเพิ่มได้ไม่เกินอัตราตามข้อใด
1.  ร้อยละ 10 ของเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งที่ใช้บังคับอยู่
2.  ร้อยละ 20 ของเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งที่กำหนดไว้ในท้ายพระราชบัญญัตินี้
3.  ร้อยละ 20 ของเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งที่ใช้บังคับอยู่
4.  ร้อยละ 30 ของเงินเดือนหรือเงินประจำตำแหน่งที่กำหนดไว้ในท้ายพระราชบัญญัตินี้

31.การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ใครเป็นผู้พิจารณาอนุมัติการบรรจุและแต่งตั้ง
1.  คณะรัฐมนตรี           2.  นายกรัฐมนตรี               3.  รัฐมนตรี             4.  ปลัดกระทรวง

32. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตำแหน่งรองหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ใครเป็นผู้พิจารณาอนุมัติการบรรจุและแต่งตั้ง
1.  คณะรัฐมนตรี           2.  นายกรัฐมนตรี               3.  รัฐมนตรี             4.  ปลัดกระทรวง

33. การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ใครเป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง
1.  คณะรัฐมนตรี           2.  นายกรัฐมนตรี               3.  รัฐมนตรี             4.  ปลัดกระทรวง

34. ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหารปฏิบัติหน้าที่เดียวติดต่อกันกี่ปีผู้บังคับบัญชาจะต้องดำเนินการให้มีการสับเปลี่ยนหน้าที่ ย้าย หรือโอนไปปฏิบัติหน้าที่อื่น
1.  2 ปี                              2.  3 ปี                            3.  4 ปี                     4.  5 ปี

35. ข้อใดเป็นการกระทำที่กำหนดให้เป็นข้อปฏิบัติของข้าราชการพลเรือน 
1.  ต้องปฏิบัติหน้าที่ข้าราชการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม
2.  ต้องปฏิบัติหน้าที่ข้าราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ
3.  ต้องรักษาความลับของทางราชการ
4.  ถูกทุกข้อ


36. ข้อใดเป็นการกระทำที่กำหนดไว้ว่าเป็นข้อห้ามไม่ให้ข้าราชการกระทำ
1.  ประมาทเลินเล่อในหน้าที่
2.  ให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์
3.  รักษาความลับของทางราชการ
4.  รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา

37. โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือนมีกี่สถาน
1.  4 สถาน                      2.  5 สถาน                          3.  6 สถาน                          4.  4 สถาน

38. ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินัยของข้าราชการพลเรือน
1.  ภาคทัณฑ์                  2.  ตัดเงินเดือน                   3.  ลดเงินเดือน                   4.  ให้ออก           

39. ข้าราชการพลเรือนกระทำผิดวินัยร้ายแรง ให้ลงโทษปลดออกหรือไล่ออกตามความร้ายแรงแห่งกรณี ในกรณีที่มีเหตุอันควรลดหย่อนโทษสามารถนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษได้ แต่ห้ามลดโทษลงต่ำกว่าโทษระดับใด
1.  ปลดออก                    2.  ให้ออก                            3.  ลดเงินเดือน                   4.  ตัดเงินเดือน

40. ข้าราชการพลเรือนมีกรณีถูกกล่าวหาเป็นหนังสือว่ากระทำความผิดวินัยร้ายแรง และได้ออกจากราชการไปแล้ว ถ้าผู้มีอำนาจจะดำเนินการทางวินัยต้องดำเนินการสอบสวนภายในกี่วัน นับแต่วันพ้นจากราชการ
1.  60 วัน                         2.  90 วัน                            3.  180 วัน                           4.  365 วัน

41. กรณีตามข้อใดยังไม่ถือว่าเป็นกรณีข้าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการ
1.  ตาย
2.  พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
3.  วิกลจริต
4.  ถูกสั่งลงโทษปลดออก

42. ข้าราชการพลเรือนอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ หากทางราชการมีความจำเป็นที่จะให้รับราชการต่อไปในทางวิชาการหรือหน้าที่ที่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว จะให้รับราชการต่อไปได้อีกไม่เกินกี่ปี
1.  5 ปี                                                                                              2. 10 ปี
3. 20 ปี                                                                                             4. ไม่มีสิทธิให้รับราชการต่อไป

43. ข้าราชการพลเรือนสามัญประสงค์จะลาออกต้องยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชาล่วงหน้ากี่วัน
1.  15 วัน                        2.  30 วัน                              3.  45 วัน                              4.  60 วัน



44.ข้าราชการถูกสั่งลงโทษ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภายในกำหนดกี่วัน นับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคำสั่ง
1.  15 วัน                        2.  30 วัน                              3.  45 วัน                              4.  60 วัน

45. กรณีที่ ก.พ.ค. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ผู้บังคับบัญชาต้องดำเนินการให้เป็นไปตามวินิจฉัยนั้นภายในกำหนดกี่วัน นับแต่วันที่ ก.พ.ค. มีคำวินิจฉัย อ.วันนรัตน์ อ.กษิระ081-445-1423
1.  15 วัน                        2.  30 วัน                              3.  45 วัน                              4.  60 วัน

46. กรณีตามข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์อาจถูกคัดค้านการเป็นกรรมการ
1.  รู้ทันเหตุการณ์ในการกระทำผิดวินัย                                   2.  มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้อุทธรณ์
3.  มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติกับผู้อุทธรณ์                         3.  เป็นผู้บังคับบัญชาผู้สั่งลงโทษ

47. การร้องทุกข์กรณีที่เกิดจากผู้บังคับบัญชา ให้ร้องทุกข์ต่อใคร
1.  ผู้บังคับบัญชา                                                                           2.  ผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป
3.  อธิบดี                                                                                         3.  ปลัดกระทรวง

48. การร้องทุกข์กรณีเหตุเกิดจากบุคคลตามข้อใดให้ร้องต่อ ก.พ.ค.
1.  หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี
2.  รัฐมนตรี
3.  นายกรัฐมนตรี
4.  ถูกทุกข้อ



49. กรณีตามข้อใดที่กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์อาจถูกคัดค้านการเป็นกรรมการได้
1.  มีส่วนได้เสียในเรื่องที่ร้องทุกข์
2.  มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ร้องทุกข์
3.  เป็นผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุให้เกิดความคับข้องใจ
4.  ถูกทุกข้อ

50. การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในพระองค์เป็นไปตามข้อใด
1.  เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย
2.  เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี
3.  เป็นไปตามข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี
4.  เป็นไปตามข้อเสนอของเลขาธิการสำนักพระราชวัง


เฉลยข้อสอบ

  1.  1                   2.  4                        3.  2                        4.  2                        5.  3                        6.  2

  7.  1                   8.  1                        9.  4                      10.  2                      11.  3                      12.  2

13.  3                 14.  1                      15.  4                      16.  3                      17.  3                      18.  3     

19.  2                 20.  1                      21.  3                      22.  2                      23.  3                      24.  4

25.  4                 26.  1                      27.  2                      28.  1                      29.  2                      30.  1                      

31.  1                 32.  1                      33.  4                      34.  3                      35.  4                      36.  3

37.  2                 38.  4                      39.  1                      40.  3                      41.  3                      42.  2

43.  2                 44.  2                      45.  2                      46.  3                      47.  2                      48.  4     

49.  4                 50.  1


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น