แนวข้อสอบงานสารบรรณ

แจกฟรี แนวข้อสอบงานสารบรรณ

****************************************************************************************************************************
ตัวอย่าง แนวข้อสอบงานสารบรรณ

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ

              ตัวอย่างแนวข้อสอบ

1.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คำว่า "งานสารบรรณ" ในที่นี้หมายความว่าอย่างไรก.งานรับ-ส่งและเก็บรักษาหนังสือ             ข.งานร่าง-เขียนและพิมพ์หนังสือ
ค.งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร*     ง.งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร 2.ระเบียบงานสารบรรณที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใดก.
1 มิถุนายน 2516                            ข.1 มิถุนายน 2526*
ค.1 ตุลาคม 2526                               ง.1 ธันวาคม 2527

3.หนังสือราชการคืออะไรก.เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมายข.เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ*
ค.เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
ง.เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ
4.งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไรก.ทำให้งานสะดวก รวดเร็ว                             ข.ประหยัดแรงงานและเวลา
ค.ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพสูง         ง.ถูกทุกข้อ *5.ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณก.มีความรู้ภาษาไทย                                        ข.มีความสุขุม ละเอียด รอบคอบ
ค.ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง            ง.ถูกทั้ง ก. ข. และค. ประกอบกัน *6.หนังสือที่มีไปมา ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก จัดเป็นหนังสือประเภทใดก.หนังสือภายนอก*                          ข.หนังสือภายใน
ค.หนังสือประทับตรา                       ง.หนังสือประชาสัมพันธ์ 7.ข้อใดต่อไปนี้อาจไม่มีในหนังสือราชการก. เรื่อง                                             ข.วัน เดือน ปี ที่ออกหนังสือ  ค.คำขึ้นต้นและคำลงท้าย                  ง.อ้างถึงและสิ่งที่ส่งมาด้วย* 8.หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไรก.ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน       ข.ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
ค.ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน           ง.ถูกทั้งข้อ ก.  ข.  และ ค. *9.หนังสือภายนอกกับหนังสือภายในต่างกันในข้อใดก.แบบฟอร์ม                                  ข.การเก็บหนังสือ   ค.ผู้ส่งและผู้รับ                                 ง.การลงทะเบียนรับ-ส่ง

10.หนังสือทีใช้ประทับตราใช้ในกรณีใดบ้าง

ก.ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม          ข.การเตือนเรื่องที่ค้าง
ค.ส่งสิ่งของ เอกสาร สำเนา               ง.ถูกทั้งข้อ ก.  ข.   และ ค. *

11.ข้อใดเป็นลักษณะของหนังสือภายใน

ก.หนังสือที่ส่งไปโดยไม่บรรจุซองข.หนังสือที่มีไปมา ระหว่างส่วนราชการต่างกระทรวง
ค.หนังสือติดต่อระหว่างบุคคลภายนอกด้วยกัน
ง.ไม่มีข้อถูก *

12.หนังสือประทับตราใช้กระดาษชนิดใด

ก.ใช้กระดาษตราครุฑ*                     ข.ใช้กระดาษบันทึก
ค.ใช้ประดาษอัดสำเนา                      ง.ไม่มีข้อกำหนดแน่นอน

13.แถลงการณ์ เป็นหนังสือประเภทใด

ก.ประทับตรา    ข.สั่งการ    ค.ประชาสัมพันธ์ *    ง.เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น

จงพิจารณาตัวเลือกต่อไป แล้วใช้ตอบคำถามตั้งแต่ ข้อ 14 ถึง 17

ก.แถลงการณ์                  ข.ข้อบังคับ
ค.คำสั่ง                          ง.ไม่ใช่ทั้ง ก.  ข.  และค.

14.บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย* ข

15.บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ์ หรือกรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจน* ก

16.บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย* ค

17.บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบทั่วกัน* ง
18.หนังสือราชการที่มีคำว่า ด่วนมาก ผู้มีหน้าที่ดำเนินการจะต้องปฏิบัติอย่างไร

     ก.ปฏิบัติตามกำหนดเวลา           ข.ปฏิบัติโดยเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
     ค.ปฏิบัติโดยเร็ว*                        ง.ปฏิบัติทันที

19.วันเดือน ปี ที่ออกหนังสือในหนังสือประทับตรา ให้พิมพ์ไว้ตรงส่วนไหนในหนังสือ

ก.ใต้รูปครุฑ    

ข.ได้ชื่อส่วนราชการที่ส่งหนังสือออก  *

ค.ไม่มีการลงวัน เดือนปี ในหนังสือชนิดนี้

.ผิดทุกข้อ

20.หนังสือประทับตราจะมีความสมบูรณ์พร้อมที่จะส่งออกได้ จะต้อง

ก.ประทับตราให้ถูกที่สุด                    ข.ระบุตัวผู้รับให้ชัดเจน   

ค.มีคำว่าหนังสือประทับตรา              ง.มีผู้ลงชื่อกำกับตราที่ประทับตามระเบียบ*

 21.รายงานการประชุมจัดอยู่ในหนังสือราชการชนิดใด

ก.หนังสือภายใน                              ข.หนังสือสั่งการ   

ค.หนังสือประชาสัมพันธ์                 

ง.หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ*

22.หนังสือประทับตรา ผู้ใดมีอำนาจในการลงชื่อกำกับ

ก.เจ้าหน้าที่ระดับ 2 ขึ้นไป                ข.หัวหน้าแผนก
ค.หัวหน้าฝ่าย                                    ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย*

23.หนังสือราชการที่มีคำว่า "ด่วน"ผู้มีหน้าที่ดำเนินการจะต้องปฏิบัติอย่างไร

ก.ปฏิบัติเร็วที่สุด                                   ข.ปฏิบัติโดยเร็ว
ค.ปฏิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้  *    ง.ปฏิบัติเร็วตามกำหนดเวลา

24.ตามระเบียบงานสารบรรณ หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นจะต้องทำ……..อย่างน้อย 1 ฉบับ

ก.สำเนาต้นฉบับ                               ข.สำเนาคู่ฉบับ*

ค.สำเนาซ้ำฉบับ                                ง.ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

25.หนังสือต่อไปนี้ มีหนังสือประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป

ก.หนังสือที่เกี่ยวกับความลับ                  ข.หนังสือที่มีหลักฐานการโต้ตอบ

ค.หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติ หลักฐาน*        ง.หนังสือสำนวนการสอบสวน

26.การเซ็นชื่อรับรองสำเนาหนังสือ ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปเป็นผู้ลงนามรับรองที่ชอบด้วยระเบียบงานสารบรรณ

ก.ระดับ 2*      ข.ระดับ 3        ค.ระดับ 4        ง.ระดับ 5

27.การพิมพ์ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ออกหนังสือให้พิมพ์ไว้ส่วนใดของหนังสือราชการ

ก.ริมกระดาษด้านบนขวา                  ข.ริมกระดาษด้านบนซ้าย

ค.ริมกระดาษด้านล่างซ้าย*                 ง.กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด

28.หนังสือราชการที่เป็นต้นฉบับ (ตัวจริง) จะมีรูปครุฑไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ

ก.ด้านบนขวา                                                    ข.ด้านล่างซ้าย          

ค.กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด*          ง.ตรงส่วนใดก็ได้ขอให้เห็นเด่นชัด

29.การพิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่องนั้น ให้พิมพ์ไว้ตรงส่วนไหน

ก.มุมกระดาษด้านล่างขวา                     ข.กลางหน้ากระดาษด้านบนขวา

ค.ใต้ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง *        ง.ตรงไหนก็ได้

30.ตั้งแต่ข้อ 30 ถึง 33 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการจ่าหน้าซองหนังสือราชการ ให้พิจารณาว่าข้อความที่กล่าวในแต่ละข้อนั้น หากจะเขียนหรือพิมพ์ลงบนหน้าซองจะต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงส่วนใดของซอง โดยยึดคำตอบจากตัวเลือกต่อไปนี้

ก.ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านบนซ้าย

ข.ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางด้านบน

ค.ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านล่างซ้าย

ง.ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางซอง

30.เลขที่หนังสือออก* ก

31.คำขึ้นต้น ชื่อผู้รับ* ง

32.ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง* ค

33.ด่วนมาก* ข

34.การเก็บหนังสือราชการปกติจะต้องเก็บรักษาไว้กี่ปี

ก.5 ปี               ข.10 ปี *          ค.15 ปี             ง.20 ปี

35.ข้อความที่บันทึกในรายงานการประชุมมักเริ่มต้นด้วยอะไร

ก.ประธานกล่าวเปิดประชุม*

ข.บอกเรื่องที่จะประชุม

ค.การรับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน

ง.การอ่านรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว

36.ข้อความสุดท้ายของรายงานการประชุมควรจะเป็นอะไร

ก.เวลาเลิกประชุม

ข.ผู้จดรายงานการประชุม*

ค.ผู้ตรวจรายงานการประชุม

ง.วัน เดือน ปี และสถานที่ประชุม

37.หนังสือราชการที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติด แบ่งเป็นกี่ประเภท

ก.4       ข.3*     ค.2       ง.ประเภทเดียว

38.การเขียนหรือพิมพ์ (หรือประทับตรา) คำว่าด่วน หรือด่วนมาก จะต้องเขียนหรือพิมพ์ (หรือประทับตรา) ไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ

ก.ท้ายหนังสือ                                    ข.ให้เห็นได้ชัด*           

ค.บนหัวหนังสือ                                ง.ตรงไหนก็ได้

39.การร่างหนังสือราชการต้องระวังเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ หลายเรื่อง เรื่องใดต่อไปนี้จำเป็นน้อยมาก

ก.แบบฟอร์ม*             ข.ใจความ                    ค.วรรคตอน    ง.ตัวสะกดการันต์

40.ข้อใดอาจช่วยให้หนังสือราชการมีใจความแจ่มชัด

ก.การใช้ภาษาที่ง่าย สั้น แต่ได้ใจความดี

ข.การแยกแยะใจความออกเป็นข้อๆ หรือตอนๆ

ค.การเท้าความถึงเรื่องที่เคยติดต่อกันมา

ง.ถูกทั้ง ก.  ข.  และ ค.*

41.ข้อใดใน 4 ข้อต่อไปนี้ ให้ปฏิบัติเป็นรายการสุดท้ายในการรับหนังสือ

ก.ลงทะเบียนรับหนังสือ                    ข.ประทับตรารับหนังสือ

ค.เปิดผนึกซองและตรวจเอกสาร       ง.ส่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการ*

42.การร่างหนังสือคืออะไร

ก.การพิมพ์หรือเขียนอย่างย่อๆ

ข.การกำหนดโครงร่างหนังสืออย่างคร่าวๆ

ค.การเขียนหนังสือด้วยลายมือของตนเอง

ง.การเรียบเรียงชั้นต้นตามเรื่องที่ต้องการติดต่อ*

43.เหตุใดจึงต้องให้มีการร่างหนังสือก่อนพิมพ์

ก.ต้องการให้เจ้าของเรื่องได้เห็นต้นร่างก่อน

ข.ต้องการดูว่าใจความจะยาวหรือสั้นเพียงใด

ค.ต้องการให้ผู้ร่างหนังสือมีงานทำและร่างหนังสือด้วยความระมัดระวัง

ง.ต้องการให้มีการตรวจแก้ให้เหมาะสมตามระเบียบแบบแผนก่อน*

44.การเสนอหนังสือคืออะไร

ก.การนำหนังสือไปส่งให้ผู้รับ

ข.การส่งหนังสือออกจากส่วนราชการ

ค.การสรุปใจความสำคัญในหนังสือเสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ

ง.การนำหนังสือที่ดำเนินการชั้นเจ้าหน้าที่แล้วเสนอต่อผู้บังคับบัญชา*

45.การเสนอหนังสือที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร

ก.ต้องเสนอเรื่องที่ไม่มีปัญหาก่อนเสมอ

ข.ต้องเสนอเรื่องสำคัญก่อนเรื่องอื่นๆ

ค.ต้องแยกเรื่องเสนอเป็นประเภทๆ ไป*

ง.ต้องเรียงลำดับเรื่องเสนอก่อน-หลัง ตามวัน เดือน ปี ที่ได้รับ

46.ภาพข้างล่างนี้คืออะไร

                       (ชื่อส่วนราชการ)

เลขรับ……………………………..

วันที่……………………………….

เวลา……………………………….

ก.ใบรับหนังสือ                                      ข.ทะเบียนหนังสือรับ

ค.ตราประทับสำหรับลงรับหนังสือ*       ง.ตราประทับสำหรับส่งหนังสือ

47.ข้อใดไม่มีกำหนดไว้ในทะเบียนงานสารบรรณ

ก.ทะเบียนรับ                                    ข.ทะเบียนจ่าย*

ค.ทะเบียนส่ง                                     ง.ทะเบียนเก็บ

48.ตามที่ได้มีช่อง การปฏิบัติ ไว้ในทะเบียนรับ-ส่ง หนังสือนั้น เพื่อประโยชน์อะไร

ก.เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นใครเป็นผู้ส่งมา

ข.เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นจะต้องส่งไปที่ไหน

ค.เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นควรจะต้องปฏิบัติอย่างไร

ง.เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นได้มีการปฏิบัติการไปแล้วเพียงใด*

49.ซองหนังสือราชการมีกี่ขนาด

ก.2                   ข.3                   ค.4*                 ง.5

50.การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็น 3 อย่าง ข้อใดไม่ใช่วิธีการเก็บหนังสือ 1 ใน 3 อย่างดังกล่าว

ก.การเก็บก่อนปฏิบัติ*

ข.การเก็บระหว่างปฏิบัติ

ค.การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว

ง.การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

51.การเก็บหนังสือมีประโยชน์ต่อข้อใดมากที่สุด

ก.การค้นหา*                                    ข.การตรวจสอบ            

ค.การทำความสะอาดที่เก็บ              ง.ความเป็นระเบียบเรียบร้อย

52.ใบรับหนังสือมีประโยชน์อย่างไร

ก.แสดงว่าหนังสือนั้นไม่สูญหาย

ข.แสดงว่าผู้รับได้รับหนังสือแล้ว

ค.เป็นหลักฐานว่าผู้ส่งได้ส่งหนังสือแล้ว

ง.เป็นหลักฐานว่าได้ส่งหนังสือและมีผู้รับหนังสือนั้นไปแล้ว*

53.หนังสือราชการประเภทใดอาจไม่ต้องทำสำเนาคู่ฉบับไว้ก็ได้

ก.หนังสือภายนอก                            ข.หนังสือภายใน

ค.หนังสือสั่งการ                                ง.หนังสือประทับตรา*

54.ในสำเนาคู่ฉบับควรมีลายมือชื่อบุคคลต่อไปนี้ ยกเว้นผู้ใดที่ไม่จำเป็นต้องมี

ก.ผู้ร่าง             ข.ผู้พิมพ์          ค.ผู้สั่งพิมพ์*    ง.ผู้ตรวจ-ทาน

55.ข้อใดเรียงลำดับส่วนราชการจากใหญ่ไปหาเล็ก ได้ถูกต้อง

ก.กอง  แผนก  กรม  กระทรวง          ข.แผนก  กรม  กอง  กระทรวง

ค.กระทรวง  กอง  กรม  แผนก          ง.กระทรวง  กรม  กอง  แผนก*

56.การประทับตรารับหนังสือควรประทับตามที่ส่วนใดของหนังสือจึงจะถูกต้อง

ก.ที่มุมบนขวา*                                  ข.ที่มุมบนซ้าย

ค.ที่มุมล่างซ้าย                                   ง.ที่มุมล่างขวา

57.ข้อใดเรียงลำดับการปฏิบัติเกี่ยวกับการรับหนังสือได้ถูกต้อง

ก.ลงทะเบียนรับ ประทับตรารับหนังสือ เปิดผนึกซองตรวจ

ข.ประทับตรารับหนังสือ ลงทะเบียนรับ เปิดผนึกซองตรวจ

ค.เปิดผนึก-ประทับตรารับ ลงทะเบียนรับ และตรวจ

ง.เปิดผนึก ตรวจ ประทับตรารับ ลงทะเบียนรับ*

58.การเปิดซองหนังสือราชการ ถ้ามีซองอีกชั้นหนึ่งอยู่ข้างใน แสดงว่าหนังสือนั้นต้องเป็นหนังสือประเภทใด

ก.หนังสือภายใน                               ข.หนังสือภายนอก

ค.หนังสือราชการด่วน                       ง.หนังสือราชการลับ*

59.หนังสือประทับตราต่างกับหนังสือภายนอกและหนังสือภายในในแง่ใด

ก.คำขึ้นต้น                                      ข.คำลงท้าย

ค.การลงชื่อ                                      ง.ทั้ง ก.  ข.  และ  ค.*

60.ตราที่ใช้ประทับในหนังสือประทับตราตามระเบียบงานสารบรรณกำหนดให้ใช้หมึกสีอะไร

ก.แดง*                        ข.ดำ                ค.น้ำเงิน          ง.เขียว

61.ประกาศ ณ วันที่………” ใช้กับหนังสือสั่งการชนิดใด

ก.คำสั่ง                        ข.ระเบียบ        ค.ข้อบังคับ      ง.ถูกทั้ง ข.และ ค.*

62.บรรทัดสุดท้ายของหนังสือสั่งการทุกประเภทจะต้องเป็นข้อความที่ระบุอะไร

ก.วัน เดือน ปี ที่ออกหนังสือ

ข.ชื่อส่วนราชการที่ออกหนังสือ

ค.ตำแหน่งของผู้มีอำนาจออกหนังสือ*

ง.ลายมือชื่อผู้มีอำนาจออกหนังสือ

63.ข้าราชการที่มีตำแหน่งยศทหารหรือตำรวจ ต้องพิมพ์ยศลงหน้าชื่อในวงเล็กใต้ลายเซ็นหรือไม่

ก.ไม่ต้องพิมพ์ยศ                              ข.พิมพ์ยศลงไปด้วย*

ค.พิมพ์หรือไม่พิมพ์ก็ได้                   ง.ไม่มีคำตอบถูก

64.การเขียนหนังสือราชการถึงพระภิกษุ-สามเณร ทั่วไป ใช้คำขึ้นต้นอย่างไร

ก.เรียน             ข.กราบเรียน                ค.ถึง                ง.นมัสการ*

65.ถ้าอธิบดีไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ผู้ทำงานแทนเมื่อลงนามในหนังสือจะต้องใช้คำว่าอย่างไร

ก.ใช้ตำแหน่งของผู้ทำงานแทน         ข.ทำงานแทน

ค.รักษาราชการแทน *                        ง.ปฏิบัติราชการแทน

66.โทรศัพท์ โทรเลข หรือวิทยุใช้ในกรณีใด

ก.เรื่องเร่งด่วน                                   ข.เรื่องเกี่ยวกับความลับราชการ

ค.เรื่องเกี่ยวกับการเงิน                        ง.เรื่องที่สั่งด้วยหนังสือไม่ทัน*

67.ทำไมจึงต้องมีระเบียบงานสารบรรณ

ก.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีระเบียบเป็นหลักปฏิบัติ*

ข.เพื่อความสะดวกแก่ผู้บังคับบัญชาในการควบคุมงาน

ค.เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนรู้เรื่องระเบียบงานสารบรรณ

ง.เพื่อให้ข้าราชการร่างและรับส่งหนังสือราชการได้ถูกต้อง

68.พระเจ้าแผ่นดินแต่งตัว ใช้ราชาศัพท์ว่าอย่างไร

ก.ทรงเครื่อง*                                    ข.แต่งพระองค์

ค.ทรงเครื่องใหญ่                              ง.ทรงพระสุคนธ์

69.พระภิกษุ สามเณร ป่วยใช้คำว่าอย่างไร

ก.ไม่สบาย       ข.ประชวร       ค.อาพาธ*        ง.ทรงพระประชวร

70.ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล ตรงกับคำสามัญว่าอย่างไร

ก.เดินทาง        ข.ฟังเทศน์       ค.ทำบุญ*        ง.ไปวัด

71.พระฉาย ตรงกับคำสามัญว่าอย่างไร

ก. พระรูป        ข.กระจกส่อง*            ค.หวี                ง.ช้อนส้อม

72.นายกรัฐมนตรี ตาย คำที่ขีดเส้นใต้คำใดจึงจะถูกต้องตามราชาศัพท์

ก.ถึงแก่กรรม                                     ข.มรณกรรม

ค.อสัญกรรม *                                   ง.พิราลัย

73.อายุการเก็บหนังสือราชการโดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี

ก.5 ปี               ข.10 ปี*           ค.15 ปี             ง.ไม่มีระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องนี้

74.หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลักต้องปฏิบัติอย่างไร

ก.เก็บรักษาไว้ไม่น้อยกว่า 15 ปี

ข.นำไปเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ

ค.ให้ปฏิบัติตามระเบียบสารบรรณโดยเคร่งครัด

ง.ให้ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ*

75.การให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือราชการไปดู หรือคัดลอก ต้องได้รับอนุญาตจากใครก่อน

ก.เจ้าหน้าที่เก็บ                                 ข.ประจำแผนก

ค.หัวหน้าแผนก                                ง.หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย*

76.หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสำคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจำ เมื่อดำเนินการเสร็จแล้วให้เก็บไม่น้อยกว่ากี่ปี

ก.1 ปี*             ข.1 ปี 6 เดือน              ค.2 ปี               ง.3 ปี

77.ผู้มีอำนาจอนุญาตให้ยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการจะต้องเป็นผู้อยู่ในตำแหน่งระดับใดขึ้นไป

ก.หัวหน้าแผน      ข.หัวหน้าฝ่าย         ค.หัวหน้ากอง*        ง.รองอธิบดี

78.ถ้าปรากฏว่าหนังสือราชการที่เก็บไปสูญหายไป จะต้องปฏิบัติอย่างไร

ก.ติดต่อเจ้าของเรื่องเดิมเพื่อหาสำเนามาแทน*

ข.เรียกตัวผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องที่หายมาสอบถาม

ค.ปล่อยไปเลยแต่ให้หมายเหตุว่าเรื่องหาย

ง.ผิดทั้ง ก. ข.  และ ค.

79.การตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือให้ตั้งอย่างน้อยกี่คน

ก.2 คน                        ข.3 คน*          ค.4 คน                        ง.5 คน

80.ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการในตำแหน่งใด

ก.อธิบดี

ข.ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งเทียบเท่าอธิบดี

ค.ปลัดกระทรวง

ง.ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.  แล้วแต่กรณี*

81.คณะกรรมการทำลายหนังสือจะต้องแต่งตั้งจากข้าราชการระดับใดขึ้นไป

ก.ระดับ 2        ข.ระดับ 3*      ค.ระดับ 4        ง.ระดับใดก็ได้

82.ผู้มีอำนาจอนุมัติการทำลายหนังสือราชการในส่วนภูมิภาคได้แก่ผู้ใด

ก.ปลัดจังหวัด                                    ข.อธิบดี

ค.รองผู้ว่าราชการจังหวัด                   ง.ผู้ว่าราชการจังหวัด*

83.ตราครุฑที่ใช้สำหรับเป็นแบบพิมพ์ในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่มีความสูงเท่าไร

ก.2.5 ซม.        ข.3.0 ซม.*      ค.3.5 ซม.        ง.4.0 ซม.

84.ขนาดตราครุฑที่ใช้ประทับแทนการลงชื่อต้องเป็นวงกลม 2 วงซ้อนกัน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางวงนอกและวงในเท่าไร

ก. 3.5 ซม.  และ 2.5 ซม.                    ข. 4.0 ซม. และ 3.0 ซม.

ค. 4.5 ซม.และ 3.5 ซม. *                   ง.ขนาดพอเหมาะเท่าไรก็ได้

85.ตราครุฑมาตรฐานที่ใช้ในระเบียบงานสารบรรณ 2526 มีกี่ขนาด

ก.2 ขนาด*      ข.3 ขนาด        ค.4 ขนาด        ง.5 ขนาด

86.การยืมหนังสือภายในส่วนราชการเดียวกัน ผู้มายืมและขอรับหนังสือต้องเป็นข้าราชการที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการในตำแหน่งใดขึ้นไป

ก.หัวหน้าแผนก*                               ข.หัวหน้าฝ่าย               

ค.หัวหน้ากอง                                     ง.รองอธิบดี

87.การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จแล้วของกระทรวงต่างๆ ตามปกติเป็นหน้าที่ของใคร

ก.แผนกสารบรรณของแต่ละกรม

ข.แผนกเก็บกองกลาง สำนักงานปลัดกระทรวง

ค.ฝากเก็บที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร

ง.ถูกทั้ง ก.  ข.  และ  ค.*

88.การยืมหนังสือราชการระหว่างส่วนราชการ ผู้มีอำนาจในการดำเนินการยืมจะต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการตำแหน่งระดับใดขึ้นไป

ก.หัวหน้าแผนก                                 ข.หัวหน้าฝ่าย               

ค.หัวหน้ากอง*                                   ง.รองอธิบดี

89.หนังสือราชการประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป

ก.หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์

ข.หนังสือเกี่ยวกับสถิติ หลักฐาน

ค.หนังสือที่ต้องใช้สำหรับการศึกษาค้นคว้า

ง.ถูกทั้ง ก.  ข.  และ  ค.*

90.การเขียนหนังสือราชการที่มีคำลงท้ายว่า ขอแสดงความนับถือ เป็นหนังสือที่มีไปถึงใคร

ก.อธิบดี                                            ข.ปลัดกระทรวง

ค.ข้าราชการระดับ 5                         ง.ถูกหมดทุกข้อ*

 

1.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526  ให้ใช้บังคับแก่หน่วยงานใดบ้าง
                     1.   ส่วนราชการ                                                                            2.   สถานศึกษาของเอกชน
                     3.   รัฐวิสาหกิจ                                                                              4.   ถูกทุกข้อ

ข้อ    2.    ส่วนราชการแห่งหนึ่งมีลักษณะการทำงานเป็นพิเศษจากหน่วยงานอื่นแ ละมีความจำเป็นจะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรีที่กำหนดไว้  ส่วนราชการนั้น  จะกระทำได้หรือไม่เพียงไร
                        1.   ย่อมกระทำได้                                                                     2.   ผู้รักษาการตามระเบียบนี้ให้ความชอบ
                        3.   กระทำมิได้                                                                            4.   ถูกเฉพาะข้อ   1    และ   2

ข้อ    3.    ข้อใดมิใช่เป็นความหมายของ  “ งานสารบรรณ
                     1.   งานบริหารงานเอกสาร                                                     2.   การรับ  การส่ง  การรักษาเอกสาร
                      2.   การจัดทำร่างระเบียบงานสารบรรณ                           4.   การยืม  การทำลายเอกสาร

ข้อ    4.    งานสารบรรณตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526  หมายความว่าอย่างไร
                     1.   งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการด้วยกัน
                     2.   งานหนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่น ๆ  ทั้งที่เป็นส่วนราชการ  และมิใช่ส่วนราชการ
                     3.   งานเกี่ยวกับการบริหารเอกสารเริ่มตั้งการจัดทำการรับ  การส่ง  การเก็บรักษา  การยืม จนถึงการทำลาย
                     4.   ที่กล่าวแล้วไม่มีข้อใดถูก

ข้อ    5.    “ บรรณสาร ”  หมายถึงอะไร
                      1.   หนังสือราชการ                                                                   2.  สิ่งของ
                      3.   บรรณารักษ์                                                                         4.  ระเบียบงานสารบรรณ

เนื้อหาถูกปกปิดไว้!! จะเห็นได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เปิดข้อความที่ปกปิดไว้ง่าย ๆ โดยโพสตอบกระทู้นี้ หรือโพสแสดงความเห็นในกระทู้นี้


ข้อ    6.    ข้อใดที่ไม่เป็นส่วนราชการตามระเบียบงานสารบรรณ
                      1.   รัฐวิสาหกิจ                                                                             2.   สุขาภิบาล
                       3.   คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ                                   4.   มหาวิทยาลัยรามคำแหง

เนื้อหาถูกปกปิดไว้!! จะเห็นได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เปิดข้อความที่ปกปิดไว้ง่าย ๆ โดยโพสตอบกระทู้นี้ หรือโพสแสดงความเห็นในกระทู้นี้


ข้อ    7.    ข้อใดที่เป็นส่วนราชการ  ตามความหมายของระเบียบงานสารบรรณ
                      1.   สถานทูตไทยในสหรัฐอเมริกา                                      2.   สภาตำบล
                      3.  สุขาภิบาล                                                                                4.   ถูกทุกข้อ

เนื้อหาถูกปกปิดไว้!! จะเห็นได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เปิดข้อความที่ปกปิดไว้ง่าย ๆ โดยโพสตอบกระทู้นี้ หรือโพสแสดงความเห็นในกระทู้นี้
.

ข้อ    8.    “ หนังสือ”  ในความหมายของระเบียบงานสารบรรณหมายความว่าอย่างไร
                        1.   หนังสือราชการ                                                                  2.   หนังสือทุกประเภท
                        3.   ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี                                              4.   เลขาธิการนายกรัฐมนตรี

เนื้อหาถูกปกปิดไว้!! จะเห็นได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เปิดข้อความที่ปกปิดไว้ง่าย ๆ โดยโพสตอบกระทู้นี้ หรือโพสแสดงความเห็นในกระทู้นี้


ข้อ    9.    ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสรบรรณ  พ.ศ.  2526
                     1.   นายกรัฐมนตรี                                                                       2.   รองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมาย
                     3.   ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี                                                 4.   เลขาธิการนายกรัฐมนตรี

เนื้อหาถูกปกปิดไว้!! จะเห็นได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น เปิดข้อความที่ปกปิดไว้ง่าย ๆ โดยโพสตอบกระทู้นี้ หรือโพสแสดงความเห็นในกระทู้นี้
       

ข้อ    10.    ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบร รณ  พ.ศ.  2526
                      1.   รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี                          2.   ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
                      3.   นายกรัฐมนตรี                                                              4.   ถูกทั้ง  1 , 2  และ  3

*********************************************************



ข้อ  1.     ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ใช้ที่ใช้ถือปฏิบ ัติในขณะนี้เป็นฉบับ  พ.ศ.  ใด
                 1.  
พ.ศ.   2506                                                                           2.   พ.ศ.   2507
                 3.  
พ.ศ.   2522                                                                           4.   พ.ศ.
   2526ข้อ    2.    ส่วนราชการใดที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือทบวง
                   1.  
สำนักพระราชวัง                                                         2.   สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา
                   3.  
สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน                                               4.   ถูกทุกข้อ
ข้อ    3.    รหัสตัวพยัญชนะประจำจังหวัดนครศรีธรรมราช  คือ                         
                   1.  
นร.                                                                                              2.   นธ
                                                                                                                                                  
                    3.  
นม                                                                                               4.   นส

ข้อ    4.    Aide – Memoire   คืออะไร
                         1.  
หนังสือกลาง                                                                     2.   บันทึกช่วยจำ
                         2.  
บันทึก                                                                                   4.   งานสารบรรณของโรงพยาบาล
ข้อ    5.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526  ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
                     1.   1  
มกราคม   2526                                                                2.   1   มิถุนายน   2526
                     3.   1  
ตุลาคม   2526                                                                  4.   1   ธันวาคม
   2526ข้อ    6.    “ บันทึกช่วยจำ “  คืออะไร
                     1.  
หนังสือที่ใช้สำหรับแถลงรายละเอียด
                     2.  
หนังสือราชการที่ใช้สรรพนามบุรุษที่   3
                     3.  
หนังสือที่ใช้สำหรับเรื่องที่มีความสำคัญ

                     4.  
หนังสือที่ใช้สำหรับยืนยันข้อความในเรื่องที่สนทนา
ข้อ    7.    เลขหนังสือ  “ ที่  นม  0015 “  ตัวเลข  15  หมายถึงแผนกอะไร
                       1.  
ขนส่ง                                                                                     2.   ปกครอง
                      3.  
สำนักงานจังหวัด    4.   ประชาสงเคราะห์
ข้อ    8.     “ ทำการแทน “  ใช้ในกรณี
                       1.  
อธิบดีมอบหมายให้รองอธิบดีหรือผู้ช่วยอธิบดีทำการแทน
                        2.  
ปลัดกระทรวงมอบหมายให้รองปลัดกระทรวงหรือผู้ช่วยทำการแทน
                        3.  
ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายอำนาจโดยทำเป็นหนังสือให้รองผู้ว่าฯ  หัวหน้า ส่วนราชการประจำจังหวัดคนใดทำการแทน  
                         4.  
ถูกทั้งข้อ  1  และ
  3ข้อ    9.    ถ้าต้องการให้รัฐวิสาหกิจ  หรือหน่วยงานใดที่ไม่เป็นส่วนราชการใช้รหัสตัว พยัญชนะของส่วนราชการที่สังกัดตัวเลข  2  ตัวแรกที่จะใช้เริ่มจากเลขอะไร
                      1.   00                                                                                             2.   15
                      3.   50                                                                                             4.   51
ข้อ    10.    ก่อนที่จะมีการใช้ระเบียบงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526  นั้น  มีการใช้ระเบียบงานสารบรรณ
                      1.  
พ.ศ.   2505                                                                       2.   พ.ศ.   2506
                      3.  
พ.ศ.   2507                                                                        4.   พ.ศ.   2508

****************************************************************

1. การเก็บหนังสือแบ่งออกเป็น 3 อย่าง ข้อใดไม่ใช่วิธีการเก็บหนังสือ 1 ใน 3 อย่างดังกล่าว
    1 :
การเก็บก่อนปฏิบัติ
    2 :
การเก็บระหว่างปฏิบัติ
    3 :
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
    4 :
การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

2.
ซองหนังสือราชการมีกี่ขนาด
    1 : 2
    2 : 3
    3 : 4
    4 : 5

3.
ตามที่ได้มีช่อง การปฏิบัติไว้ในทะเบียนรับ-ส่ง หนังสือนั้น เพื่อประโยชน์อะไร
    1 :
เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นใครเป็นผู้ส่งมา
    2 :
เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นจะต้องส่งไปที่ไหน
    3 :
เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นควรจะต้องปฏิบัติอย่างไร
    4 :
เพื่อให้ทราบว่าหนังสือนั้นได้มีการปฏิบัติการไปแล้วเพียงใด

4.
ข้อใดไม่มีกำหนดไว้ในทะเบียนงานสารบรรณ
    1 :
ทะเบียนรับ
    2 :
ทะเบียนจ่าย
    3 :
ทะเบียนส่ง
    4 :
ทะเบียนเก็บ

5. (
ชื่อส่วนราชการ)
เลขรับ……………………………..วันที่……………………………….เวลา……………………………….คืออะไร
    1 :
ใบรับหนังสือ
    2 :
ทะเบียนหนังสือรับ
    3 :
ตราประทับสำหรับลงรับหนังสือ
    4 :
ตราประทับสำหรับส่งหนังสือ

6.
การเสนอหนังสือที่ดีควรปฏิบัติอย่างไร
    1 :
ต้องเสนอเรื่องที่ไม่มีปัญหาก่อนเสมอ
    2 :
ต้องเสนอเรื่องสำคัญก่อนเรื่องอื่นๆ
    3 :
ต้องแยกเรื่องเสนอเป็นประเภทๆ ไป
    4 :
ต้องเรียงลำดับเรื่องเสนอก่อน-หลัง ตามวัน เดือน ปี ที่ได้รับ

7.
การเสนอหนังสือคืออะไร
    1 :
การนำหนังสือไปส่งให้ผู้รับ
    2 :
การส่งหนังสือออกจากส่วนราชการ
    3 :
การสรุปใจความสำคัญในหนังสือเสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
    4 :
การนำหนังสือที่ดำเนินการชั้นเจ้าหน้าที่แล้วเสนอต่อผู้บังคับบัญชา

8.
เหตุใดจึงต้องให้มีการร่างหนังสือก่อนพิมพ์
    1 :
ต้องการให้เจ้าของเรื่องได้เห็นต้นร่างก่อน
    2 :
ต้องการดูว่าใจความจะยาวหรือสั้นเพียงใด
    3 :
ต้องการให้ผู้ร่างหนังสือมีงานทำและร่างหนังสือด้วยความระมัดระวัง
    4 :
ต้องการให้มีการตรวจแก้ให้เหมาะสมตามระเบียบแบบแผนก่อน

9.
การร่างหนังสือคืออะไร
    1 :
การพิมพ์หรือเขียนอย่างย่อๆ
    2 :
การกำหนดโครงร่างหนังสืออย่างคร่าวๆ
    3 :
การเขียนหนังสือด้วยลายมือของตนเอง
    4 :
การเรียบเรียงชั้นต้นตามเรื่องที่ต้องการติดต่อ

10.
ข้อใดใน 4 ข้อต่อไปนี้ ให้ปฏิบัติเป็นรายการสุดท้ายในการรับหนังสือ
    1 :
ลงทะเบียนรับหนังสือ
    2 :
ประทับตรารับหนังสือ
    3 :
เปิดผนึกซองและตรวจเอกสาร
    4 :
ส่งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดำเนินการ

11.
ข้อใดอาจช่วยให้หนังสือราชการมีใจความแจ่มชัด
    1 :
การใช้ภาษาที่ง่าย สั้น แต่ได้ใจความดี
    2 :
การแยกแยะใจความออกเป็นข้อๆ หรือตอนๆ
    3 :
การเท้าความถึงเรื่องที่เคยติดต่อกันมา
    4 :
ถูกทั้ง ก. ข. และ ค.

12.
การร่างหนังสือราชการต้องระวังเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ หลายเรื่อง เรื่องใดต่อไปนี้จำเป็นน้อยมาก
    1 :
แบบฟอร์ม
    2 :
ใจความ
    3 :
วรรคตอน
    4 :
ตัวสะกดการันต์

13.
การเขียนหรือพิมพ์ (หรือประทับตรา) คำว่าด่วน หรือด่วนมาก จะต้องเขียนหรือพิมพ์ (หรือประทับตรา) ไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ
    1 :
ท้ายหนังสือ
    2 :
ให้เห็นได้ชัด
    3 :
บนหัวหนังสือ
    4 :
ตรงไหนก็ได้

14.
หนังสือราชการที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติด แบ่งเป็นกี่ประเภท
    1 : 4
    2 : 3
    3 : 2
    4 :
ประเภทเดียว

15.
ข้อความสุดท้ายของรายงานการประชุมควรจะเป็นอะไร
    1 :
เวลาเลิกประชุม
    2 :
ผู้จดรายงานการประชุม
    3 :
ผู้ตรวจรายงานการประชุม
    4 :
วัน เดือน ปี และสถานที่ประชุม

16.
ข้อความที่บันทึกในรายงานการประชุมมักเริ่มต้นด้วยอะไร
    1 :
ประธานกล่าวเปิดประชุม
    2 :
บอกเรื่องที่จะประชุม
    3 :
การรับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน
    4 :
การอ่านรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว

17.
การเก็บหนังสือราชการปกติจะต้องเก็บรักษาไว้กี่ปี
    1 : 5
ปี
    2 : 10
ปี
    3 : 15
ปี
    4 : 20
ปี

18.
การจ่าหน้าซองหนังสือราชการ ให้พิจารณาว่าข้อความที่กล่าวในแต่ละข้อนั้น หากจะเขียนหรือพิมพ์ลงบนหน้าซองจะต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงส่วนใดของซอง "ด่วนมาก"
    1 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านบนซ้าย
    2 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางด้านบน
    3 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านล่างซ้าย
    4 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางซอง

19.
การจ่าหน้าซองหนังสือราชการ ให้พิจารณาว่าข้อความที่กล่าวในแต่ละข้อนั้น หากจะเขียนหรือพิมพ์ลงบนหน้าซองจะต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงส่วนใดของซอง "ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง"
    1 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านบนซ้าย
    2 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางด้านบน
    3 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านล่างซ้าย
    4 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางซอง

20.
การจ่าหน้าซองหนังสือราชการ ให้พิจารณาว่าข้อความที่กล่าวในแต่ละข้อนั้น หากจะเขียนหรือพิมพ์ลงบนหน้าซองจะต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงส่วนใดของซอง "คำขึ้นต้น ชื่อผู้รับ"
    1 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านบนซ้าย
    2 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางด้านบน
    3 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านล่างซ้าย
    4 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางซอง

21.
การจ่าหน้าซองหนังสือราชการ ให้พิจารณาว่าข้อความที่กล่าวในแต่ละข้อนั้น หากจะเขียนหรือพิมพ์ลงบนหน้าซองจะต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงส่วนใดของซอง "เลขที่หนังสือออก"
    1 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านบนซ้าย
    2 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางด้านบน
    3 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ด้านล่างซ้าย
    4 :
ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ตรงกลางซอง

22.
การพิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่องนั้น ให้พิมพ์ไว้ตรงส่วนไหน
    1 :
มุมกระดาษด้านล่างขวา
    2 :
กลางหน้ากระดาษด้านบนขวา
    3 :
ใต้ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง
    4 :
ตรงไหนก็ได้

23.
หนังสือราชการที่เป็นต้นฉบับ (ตัวจริง) จะมีรูปครุฑไว้ตรงส่วนใดของหนังสือ
    1 :
ด้านบนขวา
    2 :
ด้านล่างซ้าย
    3 :
กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด
    4 :
ตรงส่วนใดก็ได้ขอให้เห็นเด่นชัด

24.
การพิมพ์ชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องที่ออกหนังสือให้พิมพ์ไว้ส่วนใดของหนังสือราชการ
    1 :
ริมกระดาษด้านบนขวา
    2 :
ริมกระดาษด้านบนซ้าย
    3 :
ริมกระดาษด้านล่างซ้าย
    4 :
กลางหน้ากระดาษด้านบนสุด

25.
การเซ็นชื่อรับรองสำเนาหนังสือ ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ระดับใดขึ้นไปเป็นผู้ลงนามรับรองที่ชอบด้วย ระเบียบงานสารบรรณ
    1 :
ระดับ 2
    2 :
ระดับ
3
    3 :
ระดับ
4
    4 :
ระดับ
5

26.
หนังสือต่อไปนี้ มีหนังสือประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป

    1 :
หนังสือที่เกี่ยวกับความลับ
    2 :
หนังสือที่มีหลักฐานการโต้ตอบ
    3 :
หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติ หลักฐาน
    4 :
หนังสือสำนวนการสอบสวน

27.
ตามระเบียบงานสารบรรณ หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นจะต้องทำ……..อย่างน้อย 1 ฉบับ
    1 :
สำเนาต้นฉบับ
    2 :
สำเนาคู่ฉบับ
    3 :
สำเนาซ้ำฉบับ
    4 :
ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

28.
หนังสือราชการที่มีคำว่า "ด่วน"ผู้มีหน้าที่ดำเนินการจะต้องปฏิบัติอย่างไร
    1 :
ปฏิบัติเร็วที่สุด
    2 :
ปฏิบัติโดยเร็ว
    3 :
ปฏิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
    4 :
ปฏิบัติเร็วตามกำหนดเวลา

29.
หนังสือประทับตรา ผู้ใดมีอำนาจในการลงชื่อกำกับ
    1 :
เจ้าหน้าที่ระดับ 2 ขึ้นไป
    2 :
หัวหน้าแผนก
    3 :
หัวหน้าฝ่าย
    4 :
หัวหน้ากองหรือผู้ได้รับมอบหมาย

30.
รายงานการประชุมจัดอยู่ในหนังสือราชการชนิดใด
    1 :
หนังสือภายใน
    2 :
หนังสือสั่งการ
    3 :
หนังสือประชาสัมพันธ์
    4 :
หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

31.
หนังสือประทับตราจะมีความสมบูรณ์พร้อมที่จะส่งออกได้ จะต้อง
    1 :
ประทับตราให้ถูกที่สุด

    2 :
ระบุตัวผู้รับให้ชัดเจน
    3 :
มีคำว่าหนังสือประทับตรา
    4 :
มีผู้ลงชื่อกำกับตราที่ประทับตามระเบียบ

32.
วันเดือน ปี ที่ออกหนังสือในหนังสือประทับตรา ให้พิมพ์ไว้ตรงส่วนไหนในหนังสือ
    1 :
ใต้รูปครุฑ
    2 :
ได้ชื่อส่วนราชการที่ส่งหนังสือออก
    3 :
ไม่มีการลงวัน เดือนปี ในหนังสือชนิดนี้
    4 :
ผิดทุกข้อ

33.
หนังสือราชการที่มีคำว่าด่วนมากผู้มีหน้าที่ดำเนินการจะต้องปฏิบัติอย่างไร
    1 :
ปฏิบัติตามกำหนดเวลา
    2 :
ปฏิบัติโดยเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้
    3 :
ปฏิบัติโดยเร็ว
    4 :
ปฏิบัติทันที

34.
บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบทั่วกัน
    1 :
แถลงการณ์
    2 :
ข้อบังคับ
    3 :
คำสั่ง
    4 :
ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

35.
บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย
    1 :
แถลงการณ์
    2 :
ข้อบังคับ
    3 :
คำสั่ง
    4 :
ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

36.
บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการ หรือเหตุการณ์ หรือกรณีใดๆ ให้ทราบชัดเจน
    1 :
แถลงการณ์
    2 :
ข้อบังคับ
    3 :
คำสั่ง
    4 :
ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

37.
บรรดาข้อความที่ผู้มีอำนาจหน้าที่กำหนดให้ใช้โดยอาศัยอำนาจของกฎหมาย
    1 :
แถลงการณ์
    2 :
ข้อบังคับ
    3 :
คำสั่ง
    4 :
ไม่ใช่ทั้ง ก. ข. และ ค.

38.
แถลงการณ์ เป็นหนังสือประเภทใด
    1 :
ประทับตรา
    2 :
สั่งการ
    3 :
ประชาสัมพันธ์
    4 :
เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้น

39.
หนังสือประทับตราใช้กระดาษชนิดใด
    1 :
ใช้กระดาษตราครุฑ
    2 :
ใช้กระดาษบันทึก
    3 :
ใช้ประดาษอัดสำเนา
    4 :
ไม่มีข้อกำหนดแน่นอน

40.
ข้อใดเป็นลักษณะของหนังสือภายใน
    1 :
หนังสือที่ส่งไปโดยไม่บรรจุซอง
    2 :
หนังสือที่มีไปมา ระหว่างส่วนราชการต่างกระทรวง
    3 :
หนังสือติดต่อระหว่างบุคคลภายนอกด้วยกัน
    4 :
ไม่มีข้อถูก

41.
หนังสือทีใช้ประทับตราใช้ในกรณีใดบ้าง
    1 :
ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม
    2 :
การเตือนเรื่องที่ค้าง
    3 :
ส่งสิ่งของ เอกสาร สำเนา
    4 :
ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.

42.
หนังสือภายนอกกับหนังสือภายในต่างกันในข้อใด
    1 :
แบบฟอร์ม
    2 :
การเก็บหนังสือ
    3 :
ผู้ส่งและผู้รับ
    4 :
การลงทะเบียนรับ-ส่ง

43.
หนังสือภายในเป็นหนังสืออย่างไร
    1 :
ติดต่อภายในกระทรวงเดียวกัน
    2 :
ติดต่อภายในกรมเดียวกัน
    3 :
ติดต่อภายในจังหวัดเดียวกัน
    4 :
ถูกทั้งข้อ ก. ข. และ ค.

44.
ข้อใดต่อไปนี้อาจไม่มีในหนังสือราชการ
    1 :
เรื่อง
    2 :
วัน เดือน ปี ที่ออกหนังสือ
    3 :
คำขึ้นต้นและคำลงท้าย
    4 :
อ้างถึงและสิ่งที่ส่งมาด้วย

45.
หนังสือที่มีไปมา ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงบุคคลภายนอก จัดเป็นหนังสือประเภทใด
    1 :
หนังสือภายนอก
    2 :
หนังสือภายใน
    3 :
หนังสือประทับตรา
    4 :
หนังสือประชาสัมพันธ์

46.
ลักษณะในข้อใดที่เหมาะสำหรับผู้ปฏิบัติงานสารบรรณ
    1 :
มีความรู้ภาษาไทย
    2 :
มีความสุขุม ละเอียด รอบคอบ
    3 :
ปฏิบัติงานด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง
    4 :
ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. ประกอบกัน

47.
งานสารบรรณมีประโยชน์ต่อราชการอย่างไร
    1 :
ทำให้งานสะดวก รวดเร็ว
    2 :
ประหยัดแรงงานและเวลา
    3 :
ทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพสูง
    4 :
ถูกทุกข้อ

48.
หนังสือราชการคืออะไร
    1 :
เอกสารทุกชนิดที่พิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
    2 :
เอกสารที่เป็นหลักฐานในทางราชการ
    3 :
เอกสารที่มีไปถึงผู้ดำรงตำแหน่งในราชการ
    4 :
เอกสารที่ทางราชการเป็นเจ้าของ

49.
ระเบียบงานสารบรรณที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
    1 : 1
มิถุนายน 2516
    2 : 1
มิถุนายน
2526
    3 : 1
ตุลาคม
2526
    4 : 1
ธันวาคม
2527

50.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คำว่า "งานสารบรรณ" ในที่นี้หมายความว่าอย่างไร

    1 :
งานรับ-ส่งและเก็บรักษาหนังสือ
    2 :
งานร่าง-เขียนและพิมพ์หนังสือ
    3 :
งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
    4 :
งานที่เกี่ยวกับงานทะเบียนเอกสาร

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น