แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป


เชิญโหลดได้เลยครับ  เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
แจกแนวข้อสอบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
แนวข้อสอบ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
1)  การออกหนังสือรับรอง  ต้องติดรูปถ่ายหรือไม่ตามระเบียบงานสารบรรณ
 1.
ต้องติดทุกครั้งตามเรียบ                                       2. ไม่จำเป็น

 3.
ในกรณีเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้บุคคลให้ติดรูปถ่ายด้วย        4. ให้อยู่ในดุลพินิจของเจ้าหน้าที่

 5.
แล้วแต่ความต้องการของผู้ช่วย

2) 
คำว่า " งบประมาณเกินดุล " หมายความว่าอย่างไร

1.
ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก               2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า

3.
รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย                                     4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย

  5.
รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล

3)
คำว่า " งบประมาณสมดุล " หมายความว่าอย่างไร

1.
ปริมาณเงินไหลเข้าประเทศมากกว่าไหลออก               2.มูลค่าสินค้าส่งออกมากกว่ามูลค่าสินค้าสินค้านำเข้า

3.
รัฐบาลมีรายได้มากกว่ารายจ่าย                                      4.ประเทศมีรายได้มากกว่ารายจ่าย

5.
รายรับของรัฐบาลมากกว่ารายจ่ายของรัฐบาล

4)
ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มักขาดดุลการค้าเป็นเพราะสาเหตุใด

 1.
มีการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรมาก                        2.มีความต้องการนำเข้าสินค้าทุนมาก

 3.
มีความต้องการสินค้าที่ผลิตภายในประเทศมาก          4.มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการมาก

               5.
ประชาชนส่วนใหญ่ดำรงชีพอย่างไม่ประหยัด

5)
ปัจจัยสำคัญที่สุดในการช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาได้แก่
   
 1.
การเพิ่มขึ้นของกำลังแรงงานทำให้อัตราค่าแรงในประเทศต่ำ

2.
การนำกรรมวิธีในการผลิตใหม่ๆมาใช้ทำให้ต้นทุนการผลิตลดลง

3.
การที่ประชาชนจ่ายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการทำให้อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น

4.
การนำเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามามากทำให้อัตราดอกเบี้ยในประเทศลดลง     5.ไม่มีข้อใดถูก
  act group
6)
ข้อใดกล่าวถึงความหมายในการพัฒนา เศรษฐกิจได้ดีที่สุด

1.
รายได้ประชาชาติที่แท้จริงเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับประชากรเพิ่มขึ้น

2.
รายได้ประชาชาติต่อหัวสูงขึ้นพร้อมกับภาวะเงินเฟ้อมีอัตราสูง

3.
รายได้ประชาชาติต่อหัวเพิ่มขึ้นพร้อมๆกับการแบ่งปันรายได้เท่าเทียมกันมากขึ้น

4.
รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นพร้อมกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในอัตราสูง

5.
มีการส่งออกสินค้าการเกษตรเพิ่มมากขึ้น

7)
ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

1.
การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจประชาธิปไตย

2.
การยอมให้ประชาชนมีสิทธิ์และเสรีภาพเต็มที่

3.
การยอมให้ประชาชนได้เลือกตั้งผู้แทนราษฎรโดยตรง

4.
การถือว่าผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนของปวงชน

5.
การถือว่าอำนาจอธิปไตยมาจากพรรคที่มีเสียงข้างมาก

8)
ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภากรณีใดที่ทำให้คณะรัฐมนตรีต้องพ้นตำแหน่ง

1.
เมื่อมีการยุบสภา                                           2.เมื่อรัฐมนตรีจำนวนมากกว่ากึ่งหนึ่งลาออก


3.
เมื่อรัฐสภามีมติไม่ไว้วางใจ                          4.เมื่อรัฐสภาไม่รับหลักการร่าง พ.ร.บ.ที่รัฐบาลเสมอ  วันนรัตน์ เเอ็คกรุ๊ป

5.
เมื่อรัฐมนตรีในคณะมีมลทินมัวหมอง

9)
การยุบสภาเป็นวิธีการหนึ่งที่รัฐบาลทำได้ในกรณีมีความขัดแย้งกับสภาผู้แทนราษฎร จุดมุ่งหมายในการยุบสภา คืออะไร

1.
เพื่อให้ประชาชนตัดสินใจเลือกตั้งใหม่            2.เพื่อให้รัฐบาลปรับปรุงคณะรัฐมนตรี

3.
เพื่อให้ ส.ส. สำนึกในบทบาทที่ดี                     4.เพื่อยกเลิกการปกครองแบบรัฐสภา

5.
เพื่อปรับปรุงบทบาทของรัฐสภาในการปกครองประเทศ

10)
คำว่า " คณะรัฐมนตรีต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อรัฐสภา " หมายความว่าอย่างไร

1.
คณะรัฐมนตรีต้องบริหารบ้านเมืองภายใต้การควบคุมของรัฐสภา

2.
คณะรัฐมนตรีอาจถูกรัฐสภาอภิปรายและลงมติไม่ไว้วางใจ

3.
คณะรัฐมนตรีอาจอยู่ในตำแหน่งได้ถ้ารัฐสภาไม่ไว้วางใจ

4.
คณะรัฐมนตรีต้องรายงานการปฏิบัติงานต่อรัฐสภา

5.
รัฐสภามีอำนาจตรวจสอบและกำหนดภารกิจให้ปฏิบัติ

11)
หลักการจัดระเบียบบริหารราชการข้อใด ที่จะทำให้ประชาชนมีโอกาสปกครองตนเองตามวิถีทางประชาธิปไตย ได้ดีที่สุด

1.
หลักการรวมอำนาจปกครองไว้ที่ส่วนกลาง
 
2.
หลักการรวมอำนาจปกครองปกครองไว้ที่บุคคลคนเดียว

3.
หลักการกระจายอำนาจปกครองให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น

4.
หลักการรวมอำนาจไว้ที่พรรค ๆ เดียว
     
5.
หลักการให้ฝ่ายการเมืองมีอำนาจเหนือราชการประจำ

12)
เพราะเหตุใดมนุษย์จึงต้องอยู่รวมกันเป็นสังคม

1.
ต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่น ไม่สามารถอยู่คนเดียวได้               2.ต้องช่วยเหลือแบ่งงานกันทำ

3.
ต้องการความอยู่รอด                                                       4.ต้องร่วมมือกันสร้างวัฒนธรรม

5.
ต้องอยู่รวมกันโดยธรรมชาติ

13)
สถาบันสังคม จะมั่นคงอยู่ได้ขึ้นอยู่กับข้อใด

1.
การจัดระเบียบกฎเกณฑ์ทางสังคม                                2.แนวทางและแบบแผนการปฏิบัติของคนในสังคม

2.
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม                                              4.บุคคลเข้าใจจุดประสงค์ของสถาบัน

5.
บุคคลต้องช่วยเหลือเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน

14)
รายได้ประชาชาติ (National income) วัดอะไร

1.
การกระจายรายได้ของประชากรในประเทศ

2.
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ

3.
อัตราความก้าวหน้าของเทคโนโลยีของประเทศ

4.
มาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศ

5.
ความสามารถในการสร้างรายได้ของประชากร

15)
ข้อใดแสดงว่า ประเทศ ก. พัฒนามากกว่า ประเทศ ข.

1.
ประเทศ ก.  เป็นประเทศอุตสาหกรรม ประเทศ ข.  เป็นประเทศเกษตรกรรม

2.
จำนวนประชากรประเทศ ก. มากกว่าประเทศ ข.


3.
รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อหัวประเทศ กง มากกว่าประเทศ ข.

4..
ประชาชนในประเทศ ก. มีคุณภาพมากกว่าประเทศ ข.

5.
ประชาชนในประเทศ ก. มี สุขภาพดีกว่าประเทศ ข.


เฉลย.. 1. 3      2. 5     3. 5     4. 2     5. 4    6. 3    7. 1     8. 1     9.1     10. 1     11. 3     12. 1    13. 2    14. 2    15. 3
จัดไปอีกชุด

1. ผลงานการศึกษาที่ถือว่ามีชื่อเสียงที่สุดในยุคการจัดการตามแนวมนุษย์สัมพันธ์(Human Relation Approach) คือ การทดลองที่เรียกว่า
                1. One Best way Study                                       2. Scientific Study
                3. Mixed-Scanning Experiment                       4. Pareto Study
                5. Hawthorne Experiment

2)
นักทฤษฎีใดมิใช่นักทฤษฎีตามแนวการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

                1. Herbert Simon                                 2. Henri Fayol

                3. Frederick W. Taylor                         4. Luter Gulic
                5.3 Max Weber


3) นักรัฐประศาสนศาสตร์กลุ่มที่ประกาศแนวความคิด New Public Administration เกิดจากการประชุมที่เมืองใด act

                1. New York                                                         2. Pitsburg

                3. Minnowbrook                                                 4. Minesota

                5. London

4)
ทฤษฎีการบริหารที่เน้นว่าผู้นำเท่านั้นเป็นผู้กำหนดนโยบายสาธารณะ ประชาชนโดยทั่วไปและไม่มีความรู้เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ คือ


                1. Group Theory                                                  2. Elite Theory

                3. Systerm Theory                                               4. Institutional Theory

                5. Policy Group Theory

5)
ข้อใดมิใช่รูปวิธีการตัดสินวินิจฉัยนโยบายสาธารณะที่ถูกต้อง


                1.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักสมเหตุสมผล


                2.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักส่วนเพิ่มขึ้น


                3.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักผสมกลั่นกรอง

                4.
การตัดสินวินิจฉัยแบบใช้หลักตามสถานการณ์


                5.
ไม่มีข้อถูกต้อง


6)
ข้อใดมิใช่ประโยชน์ของการวางแผนตามทฤษฎีการบริหาร 


***********
                1. เพื่ออธิบาย (Clarity)                                        2. เพื่อตกลงใจ (Determine)

                3.
เพื่อให้มีนโยบาย (Policy)                               4. เพื่ออ้างอิงข้อเท็จจริง (
Fact)

                5.
เพื่อให้เกิดการมองการณ์ไกล (
Anticipation)

 

7)
บุคคลแรกที่ใช้คำว่า Development Administration (การบริหารการพัฒนา) คือ


                1. Gerore Gant                                     2. Max Weber

                3. Fred W. Riggs                  4. Henry L. Gant

                5. Arther C. Clark

8)
ข้อใดมิได้ถือว่าเป็นลักษณะพิเศษของ การบริหารการพัฒนา นี้ ต่างจากการบริหารราชการแบบดั้งเดิม


                1.
มีการบริหารงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศ

                2.
มีลักษณะอ่อนไหวปรับตัวให้เข้ากับ สถานการณ์สภาวะแวดล้อมได้ง่าย


                3.
ต้องการความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ


                4.
การบริหารเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง


                5.
ไม่มีข้อถูก


9)
ข้อใดเป็นคุณลักษณะของนักบริหารการพัฒนา


                1.
เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและความชำนาญ


                2.
เป็นผู้มีความคิดริเริ่มในทางสร้างสรรค์


                3.
เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดีเลิศ


                4.
เป็นผู้มีความสารถในการตัดสินใจได้รวดเร็วและไม่ผิดพลาด


                5.
ถูกทุกข้อ


10)
ข้อใดมิใช่ลักษณะเด่นของระบบคุณธรรม(
Merit System)

                1.
หลักความเสมอภาค(
Equality of  Opportunity)

                2.
หลักความสามารถ(
Competence)

                3.
หลักการประสานประโยชน์(
Interest Balancing)

                4.
หลักความมั่งคง(
Security on tenure)

                5.
หลักความเป็นกลางทางการเมือง(
Political neutrality)

11)
ข้อใดไม่จัดเป็นองค์ประกอบของการพัฒนาองค์การ(
OD)

                1.
งบประมาณ                                       2. หัวหน้างาน


                3.
ผู้ปฏิบัติงานทุกคน                           4. นักปฏิบัติการ
OD

                5.
โครงการพัฒนาองค์การ ปลัดศุภวัฒน์


12)
ตามทฤษฎีการบริหารงานตามวัตถุประสงค์ (MBO) ผู้บริหารจะบรรลุวัตถุประสงค์ได้ ต้องอาศัยกิจกรรมการบริหาร 4 ประการ คือ


                1.
การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การอำนวยการ และการควบคุม


                2.
การวางแผน การจัดรูปงาน การปฏิบัติตามแผน และการอำนวยการ


                3.
การวางแผน การจัดรูปงาน การอำนวยการ และการปฏิวัติ


                4.
การวางแผน การจัดรูปงาน การอำนวยการ และการควบคุม


                5.
ไม่มีข้อถูก


13)
ข้อใดไม่ใช่วิธีก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารตามทฤษฎีการบริหารแบบมีส่วนร่วม(
Participative Management)

                1.
การชี้แนะและเสนองาน                  2. การให้กลุ่มเสนอแนะความคิดเห็น


                3.
การให้กลุ่มควบคุมกันเอง                               4. การออกคำสั่งให้ทุกคนเข้าร่วมบริหารงาน


                5.
การจัดให้เจ้าหน้าที่ได้ปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถ


14)
ปัจจัยที่สำคัญที่สุดของการปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตการณ์ หรือบริหารงานภายใต้ภาวะข้อจำกัด


                1.
โอกาส                               2. สถานการณ์                                      3. ผู้บริหาร


                4.
เวลา                                    5. วัสดุ


15)
กลุ่มกิจกรรมคิวซี(Q.C. Circle) กลุ่มแรกในญี่ปุ่นตั้งขึ้นในปีใด
actcorner

                1.
พ.ศ.2503           2. พ.ศ.2504           3. พ.ศ.2505           4. พ.ศ. 2511          5. พ.ศ.
2514

16)
หลักการพื้นฐานประการหนึ่งของกิจกรรมคิวซี คือระบบบริหารที่มีหลักการว่า


                1. No Job No Money                          2. No Problem No Congress

                3. No Man No Progress                      4. No Problem No  Progress

                5.
ไม่มีข้อถูก


17)
วงจรเดมมิ่ง หรือวงจร PDCA อักษร P ในที่นี้หมายถึง


                1. Plan                    2. Policy                3. Private               4. Playing Roll                     5. Package

18)
ข้อใดมิใช่เทคนิคที่จะเป็นสำคัญการทำกิจกรรมคิวซี


                1.
เทคนิคทางสถิติ                                2. เทคนิคการระดมสมอง


                3.
เทคนิคการคิดสร้างสรรค์               4. เทคนิคการทำงานร่วมกันเป็นทีม


                5.
เทคนิคการทำงานในสภาวะจำกัด


19) Gantt’s Chart
แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ


1.
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานประมาณ และตารางความก้าวหน้างาน


2.
ตารางบันทึกการทำงานของคน,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานและตามก้าวหน้างาน


3.
ตารางบันทึกการทำงานของเครื่องจักร,ตารางคุมงานคอย, ตารางแผนงานและความก้าวหน้า


4. 
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางแผนผังงาน, ตารางคุมงานคอยและตารางความก้าวหน้างาน


5.
ตารางบันทึกการทำงานของคนและเครื่องจักร,ตารางคุมงานคอย, ตารางคุมงบประมาณ ตารางความก้าวหน้างาน


20)
ข้อใดไม่ใช่วิธีประมาณเวลา ในเทคนิคการประเมินผลและการตรวจสอบผลงาน (
PERT)

                1.
เวลาที่คาดว่าจะทำได้เร็วที่สุด(
Optimistic time)

                2.
เวลาที่คาดว่าประหยัดที่สุด (
Economic time)

                3.
เวลาที่คาดว่าใกล้เคียงที่สุด(
Most likely time)

                4.
เวลาที่คาดว่าช้าที่สุด(
Pessimistic time)

                5.
ไม่มีข้อถูก


21)
ข้อใดคือลำดับขั้นตอนที่ถูกต้องระบบเทคนิควิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (
CPM) 

1.
การจัดแบ่งงานของโครงการ, การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรม, การสร้างข่ายงานและวีถีวิกฤต


2.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การสร้างข่ายงาน ,   การจัดลำดับกิจกรรมและหาวีถีวิกฤต


3.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การหาวีถีวิกฤตจัดลำดับกิจกรรมและการสร้างข่ายงาน


4.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรม, การหาวีถีวิกฤตและการสร้างข่ายงาน


5.
การกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ, การจัดแบ่งงานของโครงการ, การจัดลำดับกิจกรรมและหาวีถีวิกฤต


22)
การบริหารระบบ MIS สาขาที่เน้นเรื่องการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, การสื่อสารข้อมูลและระบบสำนักงานอัตโนมัติชื่อเรียกว่า


                1. IRM : Information Resources Management

                2. DSS : Decision Support System

                3. DP : Data Processing

                4. CPM : Critical Path

                5.
ไม่มีข้อถูก


23)
ข้อใดมิใช่ปัจจัยสำคัญของการพิจารณากำหนดโครงสร้างขององค์การ


                1.
ระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ                2. ระบบการติดต่อสื่อสารที่ดี


                3.
ความสะดวกสบายของผู้ร่วมงาน  4. สมาชิกแต่ละคนควรได้ทำงานที่ตนพึงพอใจ


                5.
เอกลักษณ์ขององค์การ

 

24)
ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ 5 ลำดับของ Maslow ตามทฤษฎีของ Hierarchy of need คือ


                1. Basic Needs, Security Needs, Esteem Needs, Love Needs and Self Actualization Needs

                2. Basic Needs, Love Needs, Security Needs, Esteem Needs and Self Actualization Needs

                3. Basic Needs, Love Needs, Self Actualization Needs, Security Needs and Esteem Needs

                4. Basic Needs, Security Needs, Love Needs, Esteem Needs and Self Actualization Needs

                5. Basic Needs, Self Actualization Needs, Security Needs, Love Needs and Esteem Needs

25)
ต่อไปนี้ข้อใดเป็นปัจจัย Hygiene Factors ตามทฤษฎี Two Factors Theory ของ
Herzberg

                1.
เงิน, ลักษณะงาน, การบังคับบัญชา, ความก้าวหน้า


                2.
เงิน, การบังคับบัญชา, การยกย่อง, ความมั่งคง


                3.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความมั่งคง, ความรับผิดชอบ


                4.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความมั่งคง, นโยบายและการบริหาร


                5.
เงิน, การบังคับบัญชา, ความสำเร็จ, นโยบายและการบริหาร


26)
ผู้ที่เสนอทฤษฎี Expectancy Theory ซึ่งมุ่งศึกษาว่า เมื่อมนุษย์มีความต้องการอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมา เงื่อนไขที่กำหนดว่าเขาจะแสดงพฤติกรรมเพื่อผ่อนคลายความต้องการนั้นหรือไม่ ก็คือ ความคาดหวังเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการแสดงพฤติกรรมใดๆนั้นได้แก่


                1. McGregor         2. Maslow             3. Vroom               4. Herzberg           5. Chester I. Barnard

27)
คำว่า “Communis” ซึ่งเป็นภาษาละติน อันเป็นรากคำศัพท์ของคำว่า “ Communication” แปลว่าอะไร


                1.
การสื่อสาร                        2. การสร้างอย่างสามัญ


                3.
กฎเกณฑ์                           4. การติดต่อกัน                                    5. ข่าวสาร


28)
การติดต่อสื่อสารแบบธรรมดาและง่ายที่สุด คือ


                1.
การส่งจดหมาย(Mail)                                     2. การโทรศัพท์(
Telephone)

                3.
การโทรเลข(Telegrame)                 4. การใช้นกพิราบสื่อสาร(
Peageon)

                5.
การติดต่อสื่อสารแบบตัวต่อตัว (
Face-to-Face)         

29) 
ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้อง


                1.
การประสานงานระดับบนลงมาล่าง(Top-down Coordination)

                2. 
การประสานงานระดับสูงไปต่ำ(
Hight-Low Coordination)

                3.
การประสานงานในระดับเดียวกัน(
Horzontal Coordination)

                4.
การประสานงานแบบคู่ขนาน(
Pararel Coordination)

                5.
ไม่มีข้อถูก


30)
ผู้บังคับบัญชาที่ถือว่า ผู้ช่วย หมายถึง ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้ช่วยของหัวหน้า และช่วยให้งานของหัวหน้าสำเร็จ ไม่ใช่งานของตนสำเร็จคือผู้นำแบบ


                1.
แบบอัตตนิยม(Autocratic Leaders)                              2. แบบเสรีนิยม(
Laissez-fairs Leaders)

                3.
แบบประชาธิปไตย(Democratic Leaders)   4. แบบปฏิฐาน(
Positive- Leaders)

                5.
ไม่มีข้อถูก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น