แจกฟรีแนวข้อสอบข้าราชการทั่วไป

แจกฟรี แนวข้อสอบ ข้าราชการทั่วประเทศ
เข้าไปดาวโหลดฟรีที่  http://www.kosobthai.com/index.php?m=bbs  ครับ
                            VDO  ติวแนวข้อสอบบรรจุครู วิชาภาษาไทย

อ่างอิงจาก youtube....
คลิ๊ก....
                                               http://www.kosobthai.com/index.php?m=bbs


แนวข้อสอบบรรจุข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร ปี 2554  
(เกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร)
1 กรุงเทพมหานคร เดิมเรียกกันว่า
-        "เมืองบางกอก"
2 กรุงเทพมหานครมีลักษณะเป็นเขตการปกครอง
-    ปกครองพิเศษ
3.ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กำหนดให้กรุงเทพมหานครเป็น
- ทบวงการเมือง มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
4.มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และรองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร มาจาก
- การเลือกตั้ง
 5.มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และรองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารงาน อยู่ในตำแหน่งตามวาระคราวละ
-  4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง
6.ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และรองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร และเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารงานและมีการแต่งตั้ง 
ปลัดกรุงเทพมหานครร่วมบริหารงาน
7.การดำเนินงานมีสภากรุงเทพมหานครที่ได้รับเลือกตั้งโดยตรงทำงานร่วมด้วยผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน คือ
-  
8. ปลัดกรุงเทพมหานครคนปัจจุบันคือ
9.ตราของกรุงเทพมหานคร เป็น
- รูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ พระหัตถ์ทรงสายฟ้า  

10.ต้นไม้ประจำกรุงเทพมหานคร คือ
ต้นไทรย้อยใบแหลม (Ficus benjamina)

11.คำขวัญของกรุงเทพมหานคร 
- ช่วยชุมชนแออัด ขจัดมลพิษ แก่ปัญหารถติด ทุกชีวิตรื่นรมย์
1  “ข้าราชการกรุงเทพมหานครหมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและ
แต่งตั้งให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนของกรุงเทพมหานคร
หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร
นำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการกรุงเทพมหานคร

2“ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญหมายความว่า
ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งรับราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร แต่ไม่รวมถึงข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครและข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา

3“ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครหมายความว่า
(๑) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ หรือ
(๒) ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์และให้หมายความรวมถึงข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงานการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครกำหนด
4“ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษาหมายความว่า
 ข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถาบันอุดมศึกษาตามที่
คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครกำหนด
5“บุคลากรกรุงเทพมหานครหมายความว่า ลูกจ้างกรุงเทพมหานครและพนักงานกรุงเทพมหานคร

6“ลูกจ้างกรุงเทพมหานครหมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานครโดยได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณหมวดค่าจ้างของกรุงเทพมหานครหรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร
นำมาจัดเป็นค่าจ้างของลูกจ้างกรุงเทพมหานคร

7“พนักงานกรุงเทพมหานครหมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างโดยได้รับค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณหมวดค่าตอบแทนของกรุงเทพมหานคร

8“หน่วยงานการศึกษาหมายความว่า
(๑) สถานศึกษา
(๒) แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศกรุงเทพมหานคร
(๓) ส่วนราชการอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร
9  “สถานศึกษาหมายความว่า
 โรงเรียนหรือสถานศึกษาของกรุงเทพมหานครที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามประกาศกรุงเทพมหานคร

10“สถาบันอุดมศึกษาหมายความว่า
สถาบันการศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปริญญาของกรุงเทพมหานครตามประกาศกรุงเทพมหานคร

11“รัฐมนตรีหมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

12 มาตรา ๕ ในกรณีที่มีกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับใด ใช้บังคับเพื่อให้สวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่นแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ให้ใช้กฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้นแก่ข้าราชการกรุงเทพมหานครด้วย โดยให้บรรดาคำว่าข้าราชการพลเรือนหรือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาหรือ ข้าราชการครูหรือ บุคลากรทางการศึกษาหรือ ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาที่มีอยู่ในกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้น หมายความถึง
ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญหรือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร
หรือ ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษาแล้วแต่กรณีด้วย

13 มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

14  คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครเรียกโดยย่อว่า ก.ก.ประกอบด้วย

15 มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปีบริบูรณ์
(๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่เป็นโทษ
สำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๕) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำ
(๖) ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(๗) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๘) ไม่เป็นกรรมการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง
หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
(๙) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น หรือสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร

16 มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนข้าราชการกรุงเทพมหานคร
มีวาระการดำรงตำแหน่งคราว
-          ละสี่ปี
17  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๓) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตามมาตรา ๘

18 ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญประจำกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า
- “อ.ก.ก. สามัญข้าราชการเพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครดังต่อไปนี้

19 คณะอนุกรรมการสามัญข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ เรียกโดยย่อว่า
- “อ.ก.ก. สามัญข้าราชการสามัญ

20 คณะอนุกรรมการสามัญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า อ.ก.ก. สามัญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

21 คณะอนุกรรมการสามัญข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา
เรียกโดยย่อว่า อ.ก.ก. สามัญข้าราชการอุดมศึกษา

22.ให้มีคณะอนุกรรมการสามัญประจำหน่วยงานกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า
อ.ก.ก. สามัญหน่วยงานโดยออกชื่อหน่วยงานนั้น เพื่อเป็นองค์กรบริหารทรัพยากรบุคคลของ
หน่วยงานกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ ตามที่ ก.ก. กำหนด

23 หน่วยงานใดที่ ก.ก. ยังมิได้กำหนดให้มี อ.ก.ก. สามัญหน่วยงาน ให้ อ.ก.ก.
สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร ทำหน้าที่ อ.ก.ก. สามัญหน่วยงานนั้น โดยให้หัวหน้าหน่วยงานนั้น
เป็นอนุกรรมการเพิ่มขึ้นด้วย

24 ให้นำมาตรา ๑๔ มาใช้บังคับแก่การประชุมของ อ.ก.ก. สามัญข้าราชการและ อ.ก.ก. สามัญหน่วยงาน โดยอนุโลมมาตรา ๑๖ อ.ก.ก. สามัญข้าราชการสามัญ ประกอบด้วย
(๑) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

25  ให้ผู้ทรงคุณวุฒิและข้าราชการกรุงเทพมหานครซึ่งได้รับ
การคัดเลือกตามมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๒ มีวาระการดำรงตำแหน่ง
-          คราวละสองปี
26 ให้มีสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครเรียกโดยย่อว่า
-  “สำนักงาน ก.ก.มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
27 คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมกรุงเทพมหานคร มาตรา ๒๙ ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า
-          “ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร
28             มาตรา ๓๐ ผู้จะได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานครต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบห้าปี
(๓) มีคุณสมบัติอื่นอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(ก) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการข้าราชการ
กรุงเทพมหานคร คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คณะกรรมการข้าราชการครู คณะกรรมการ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา หรือคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ
(ข) เป็นหรือเคยเป็นกรรมการกฤษฎีกา
(ค) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์
หรือเทียบเท่า หรือตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองชั้นต้น
(ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดีอัยการพิเศษ
ประจำเขต หรือเทียบเท่า
(จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง
หรือเทียบเท่าตามที่ ก.ก. กำหนด
(ฉ) เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือวิชาที่เกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินในสถาบันอุดมศึกษา
และดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ารองศาสตราจารย์ แต่ในกรณีที่ดำรงตำแหน่ง
รองศาสตราจารย์ต้องดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
29.  ให้มีคณะกรรมการคัดเลือกกรรมการ ก.พ.ค. กรุงเทพมหานคร
ประกอบด้วย
ตอบ……… ประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นประธาน รองประธานศาลฎีกาที่ได้รับมอบหมาย
จากประธานศาลฎีกาหนึ่งคน กรรมการ ก.ก. ผู้ทรงคุณวุฒิหนึ่งคนซึ่งได้รับเลือกโดย ก.ก. และ
ให้หัวหน้าสำนักงาน ก.ก. เป็นกรรมการและเลขานุการให้คณะกรรมการคัดเลือกมีหน้าที่คัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๓๐จำนวนห้าคน

30 ข้าราชการกรุงเทพมหานครมี ๓ ประเภท คือ
(๑) ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
(๒) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร
(๓) ข้าราชการกรุงเทพมหานครในสถาบันอุดมศึกษา

 แจกฟรี แนวข้อสอบแข่งขันเข้ารับราชการ ตำแหน่งปลัดอำเภอ
คลิ๊ก...
เข้าไปดาวโหลดฟรีที่ www.kosobthai.com ครับ 

(
เจ้าพนักงานปกครอง 3)ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่งปี
2535

1.     
นักบริหารให้ความสำคัญกับการบริหารงานบุคคลเรื่องใดเป็นอันดับแรก


       
ก.  การวางแผนด้านกำลังคน                                                    ข.  การแสวงหาตัวบุคคล

       
ค.  การคัดเลือกตัวบุคคล                                                             ง.  การฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติจริง

       
จ.  การประเมินผลการทำงาน

2.     Job Description
คือ

       
ก.  การพิจาณาความสามารถของคน                                        ข.  การหาวิธีจูงใจพฤติกรรมของคน

       
ค.  การพิจารณาและสังเกตการทำงาน                                    ง.  การเขียนรายละเอียดของงาน

       
จ.  การทำขั้นตอนการปฏิบัติงาน (work-flowchart)

3.     
นักบริหาร หมายถึง


       
ก.  ผู้เป็นเจ้าของกิจการและดำเนินกิจการเอง

       
ข.  ผู้รับผิดชอบต่อการดำเนินงาน

       
ค.  ผู้วินิจฉัยชี้ขาดและสั่งงาน

       
ง.  ผู้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานขององค์กร

       
จ.  ถูกทุกข้อ

4.     
ผู้บังคับบัญชาแบบใดที่มีลักษณะฟังความคิดเห็นของกลุ่ม ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามี          โอกาสก้าวหน้าในการทำงาน

       
ก.  ผู้นำแบบเสรีนิยม                                                                   ข.  ผู้นำแบบอัตนิยม

       
ค.  ผู้นำแบบประชาธิปไตย                                                        ง.  ผู้นำแบบปล่อยปละละเลย

       
ฉ.  ผิดทุกข้อ

5.     
ผู้นำระดับใดที่มีลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์มาก

       
ก.  ระดับปฏิบัติการ                                                                     ข.  ระดับกลาง

       
ค.  ระดับสูง                                                                                  ง.  ระดับผู้บริหาร

       
จ.  ทุกระดับ (ถูกทุกข้อ)

6.     
ปัจจัยที่ทำให้การมอบหมายงานสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

       
ก.                    การสร้างบรรยากาศในองค์การ                                        ข.  อำนาจตามหน้าที่

       
ค.  ความสามารถพิเศษของผู้ร่วมงาน                                      ง.  ความสนใจงาน

       
จ.  ความสัมพันธ์นอกแบบ (Informal Relations)
7.     
การบริหาร คือ


       
ก.  การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในการทำงานของราชการ


       
ข.  การสร้างความพึงพอใจให้กับประชาชน

       
ค.  การทำงานให้สำเร็จลุล่วงโดยคนต่างๆ เป็นผู้นำ

       
ง.  การคานอำนาจระหว่างคนทำงานในระดับต่างๆ

       
จ.  การแบ่งอำนาจให้เหมาะสมอย่างมีเหตุและผล...เเอ๊คกรุ๊ป

8.     
การบริหารแบบมีหลักเกณฑ์ (SCIENTIFIC MANAGEMENT) คือ

       
ก.  การทำงานที่มีหลักเกณฑ์กำหนดไว้

       
ข.  การทำงานโดยได้ทั้งงานและได้ความสำเร็จ

       
ค.  การทำงานที่ถือระเบียบแบบแผนมากกว่าจะทำงานไปโดยคำนึงถึงสถานการณ์

       
ง.  การทำงานที่เน้นหนัก วิธีที่ดีที่สุด

       
จ.  การทำงานที่เน้นหนักวิธีที่ดีและมีผลพึงพอใจแก่ผู้บริหารรวมทั้งประชาชนมาก

9.     
หลักของการพิจารณาขนาดของการควบคุมในองค์การที่สำคัญที่สุด คือ

       
ก.  งบประมาณกับขนาดขององค์กร                                        ข.  การตัดสินใจกับขนาดขององค์กร

       
ค.  ความรับผิดชอบกับการตัดสินใจ                                        ง.  ประเภทคนงานกับกิจกรรม

       
จ.  ประเภทคนงานกับความรู้ความสามารถ

10. 
ปัจจัยที่อำนาจหน้าที่เป็นที่ยอมรับของบุคคลในองค์การ คือ

       
ก.  การเงิน การประสานงาน และการศึกษา

       
ข.  การกำหนดอำนาจหน้าที่ของกรมบังคับบัญชา ความเป็นผู้นำและการใช้ประโยชน์ทางการเงินและทรัพยากร

       
ค.  อำนาจหน้าที่ ความสารถในการประสานงาน วัฒนธรรมของสังคมและความรู้ในงานที่รับผิดชอบ

       
ง.  ความสามารถบังคับบัญชา ความเป็นผู้นำ ความรับผิดชอบต่อประชาชนและคุณธรรมในการใช้อำนาจ

       
จ.  วัฒนธรรม ความรับผิดชอบของการปฏิบัติตามคำสั่ง คุณธรรมและความรับผิดชอบของผู้นำ

11. 
เหตุผลที่ไม่ถูกต้องในการใช้คณะกรรมการในการทำงานขององค์การต่างๆ คือ

       
ก.  เพื่อประสานงาน                                                                   ข.  เพื่อการปฏิบัติเข้ากันได้ดี

       
ค.  เพื่อการฝึกอบรมตัวบุคคล                                                    ง.  เพื่อลดค่าใช้จ่ายของผู้บริหาร

       
จ.  ถูกทุกข้อ

12. 
การบริหารบุคคลจะรวมถึงงานต่างๆ ดังต่อไปนี้

       
ก.  การวางแผนงานและเสาะหา                                              ข.  การเสาะหาและการวางแผนใช้งบประมาณ

       
ค.  การคัดเลือกและการพัฒนาองค์การ                                   ง.  การคัดเลือกและการพัฒนาอบรม

       
จ.  ถูกทุกข้อ

13. 
การควบคุมที่ไม่ดีจะมีวัตถุประสงค์ที่ไม่ถูกต้อง คือ

       
ก.  เพื่อผลงานที่เข้ามาตรฐาน                                                   ข.  เพื่อปกป้องผู้บังคับบัญชา

       
ค.  เพื่อบริการที่ดี                                                                         ง.  เพื่อผู้บริหารจัดระเบียบงาน

       
จ.  เพื่อควบคุมและจัดงานต่างๆ

14. 
ข้อใดเป็น "การบริหารเพื่อการพัฒนา"  (Administrative of Development)

       
ก.  การพัฒนาโครงสร้าง                                                            ข.  การพัฒนากระบวนการและเทคโนโลยี


       
ค.  การพัฒนาพฤติกรรม                                                            ง.  การบริหารโครงการพัฒนา

       
จ.  ถูกทุกข้อ

15. 
การวางแผนมหาดไทยแม่บท หากใช้ระยะเวลาเป็นหลักในการจัดประเภท ถือเป็นการวางแผนประเภทใด

       
ก.  การวางแผนระยะยาว                                                           ข.  การวางแผนระยะปานกลาง

       
ค.  การวางแผนหมุนเวียน                                                         ง.  การวางแผนประจำปี

       
จ.  การวางแผนปฏิบัติการ

16. 
หลักการวางแผนมีลักษณะสอดคล้องกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา คือ

       
ก.  อิทธิบาท 4                                                                               ข.  พรหมวิหาร 4

       
ค.  อริยสัจ 4                                                                                  ง.  สังคหวัตถุ
4

       
จ.  สัปปุริสะรรม


17. 
แนวทางการบริหารที่จำเป็นที่สุดในองค์การแบบ z (zytype).....เเอ๊คกรุ๊ป

       
ก.  การฝึกอบรม                                                                           ข.  การควบคุมบังคับบัญชา

       
ค.  การติดต่อสื่อสาร                                                                    ง.  การสร้างทีมงาน

       
จ.  การประเมินผลงาน

18. 
ประสิทธิภาพในการบริหารงาน หมายถึง

       
ก.  ความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของนโยบาย

       
ข.  ความสามารถในการผลิต หรือให้บริการโดยมีต้นทุนต่อหน่วยต่ำที่สุด

       
ค.  ความสามารถของการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบาย ภายใต้เงื่อนไขภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่

       
ง.  ความสามารถในการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้ความพึงพอใจของผู้รับบริการ

       
จ.  ผิดทุกข้อ

19. 
ใน "หลักการบริหารเพื่อความเป็นเลิศ" ที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยกล่าวถึงอยู่เสมอ ตัวชี้วัดความสำเร็จของ          โครงการ หรืองานบริการประชาชนที่สำคัญที่สุด คือ

       
ก.  ผลงานที่ได้รับ ภายใต้ทรัพยากรที่จำกัดอย่างมีประสิทธิผล

       
ข.  ความเป็นธรรมที่ประชาชนได้รับ

       
ค.  ผลกระทบต่อประชาชน โดยเฉพาะผลสำเร็จที่ตรงกับความต้องการของประชาชน

       
ง.  ผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ของนโยบาย

       
จ.  ข้อ ก. และข้อ ง.

20. 
การบริหารัฐกิจในความหมายใหม่ (New Public Administration) มีลักษณะที่สำคัญ คือ


       
ก.  เน้นการบริหารที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อการแก้ปัญหาสังคม เน้นความยุติธรรมในสังคม

       
ข.  นักบริหารต้องมีความกระตือรือร้น คิดล่วงหน้า ทำงานในแนวทางสร้างสรรค์..เเอ๊คกรุ๊ป

       
ค.  นักบริหารต้องไม่เป็นผู้เสนอว่าสิ่งควรทำ หรือไม่ควรทำ เพื่อป้องกันการผูกขาดอำนาจ

       
ง.  ข้อ ก. และข้อ ข.

       
จ.  ข้อ ก. และข้อ ค.


21. 
การบริการประชาชนในหน้าที่ของกรมการปกครองได้หมายถึงข้อความในข้อใด


       
ก.  การจัดเวรบริการประชาชน ณ ที่ว่าการอำเภอและกิ่งอำเภอ

       
ข.  การจัดหน่วยบริการอำเภอเคลื่อนที่

       
ค.  ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบล

       
ง.  การต้านทานการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้ง

       
จ.  การให้บริการประชาชน ณ ที่ว่าการตำบล

22. 
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ปลัดอำเภอมีอำนาจและหน้าที่อย่างไร

       
ก.  เป็นหัวหน้าส่วนกรมการปกครองที่ไปประจำที่อำเภอ

       
ข.  เป็นหัวหน้าที่ทำการปกครองอำเภอ

       
ค.  เป็นผู้ช่วยเหลือนายอำเภอ

       
ง.  เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาคที่สังกัดกรมการปกครองซึ่งประจำอำเภอนั้น

       
จ.  เป็นผู้ช่วยเหลือนายอำเภอและมีอำนาจบังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารส่วนภูมิภาค ที่สังกัดกรมการ                                   ปกครองในอำเภอนั้น

23. 
การปฏิบัติที่ชัดเจนเป็นโครงการนำร่องสนองนโยบายปรับปรุงอำเภอให้เป็นหน่วยงานหลัก สามารถบำบัด       ทุกข์บำรุงสุขแก่ประชาชนได้อย่างแท้จริง คือ..เเอ๊คกรุ๊ป

       
ก.  การจัดให้มีปลัดอำเภอให้บริการที่ตำบล

       
ข.  การปรับปรุงระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาชนบท พ.ศ. 2534

       
ค.  โครงการจัดที่ดินทำกินให้แก่ประชาชนผู้ยากไร้ (คจก.)


       
ง.  โครงการรณรงค์ไม่ให้มีการซื้อสิทธ์ขายเสียง (ผปม.)

       
จ.  ไม่มีข้อใดถูก

24. 
ถ้าจะติดต่อเกี่ยวกับเรื่องการประชาสัมพันธ์ของกรมการปกครองต้องติดต่อที่

       
ก.  กองอัตรากำลังและส่งเสริมสมรรถภาพ                                           ข.  สำนักงานสารนิเทศ

       
ค.  กองวิชาการและแผนงาน                                                                    ง.  กองคลัง

       
จ.  สำนักงานเลขานุการกรม

25. 
ข้อใดไม่ใช่นโยบายเน้นหนักกรมการปกครอง ปี 2535

       
ก.  ขยายฐานะประชาธิปไตยสู่ปวงชนชาวไทยโดยกระจายอำนาจสู่หน่วยงานการปกครองท้องถิ่นให้มากยิ่งขึ้น


       
ข.  ปรับปรุงอำเภอให้เป็นหน่วยงานหลักสามารถบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ประชาชนได้อย่างแท้จริง

       
ค.  พัฒนาอาชีพและแหล่งน้ำเพื่อความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งในเขตเมืองและชนบท

       
ง.  การพัฒนาชนบทและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
26. 
ข้อใดไม่ถูกต้อง
ffice src="./images/smilies/default/shocked.gif" border=0 smilieid="6">ffice" />

       
ก.  ที่ทำการปกครองจังหวัดมีปลัดจังหวัดเป็นหัวหน้ารับผิดชอบ


       
ข.  ที่ทำการปกครองอำเภอมีนายอำเภอเป็นหัวหน้ารับผิดชอบ

27. 
ผู้ที่ไม่สามารถรักษาราชการแทนนายอำเภอได้ คือ

       
ก.  ปลัดอำเภอ                                                                              ข.  ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ

       
ค.  สารวัตรใหญ่                                                                          ง.  สาธารณสุขอำเภอ

       
จ.  สหกรณ์อำเภอ

28. 
ข้อใดไม่ใช่ตัวชี้วัดการปรับปรุงอำเภอให้เป็นหน่วยงานหลักสามารถบำบัดทุกข์บำรุงสุขแก่ประชาชนได้อย่าง   แท้จริง

       
ก.  การบริการประชาชนรวดเร็ว อำเภอเป็นศูนย์กลางของทุกหน่วยงานอย่างแท้จริง

       
ข.  บุคลากรในพื้นที่เพียงพอกับปริมาณและสามารถบริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง

       
ค.  การแก้ปัญหาของพื้นที่เป็นไปอย่างรวดเร็วตามความต้องการของประชาชน

       
ง.  ประชาชนเชื่อถือ รักใคร่ ศรัทธา เจ้าหน้าที่ของรัฐ

       
จ.  ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

29. 
กองใดไม่ใช่กองที่จัดอยู่ในกลุ่มงานสนับสนุนและช่วยผู้อำนวยการ

       
ก.  กองวิชาการและแผนงาน                                                    ข.  กองคลัง

       
ค.  กองตรวจสอบระบบบัญชี                                                    ง.  กองการทะเบียน

       
จ.  กองการสอบสวนและนิติการ

30. 
การแบ่งสายงานและความรับผิดชอบของรองอธิบดีกรมการปกครอง แบ่งออกเป็น 4 สายงานดังต่อไปนี้

       
ก.  ฝ่ายราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายบริหารราชการทั่วไป ฝ่ายกิจการพิเศษ และฝ่ายราชการบริหารส่วนภูมิภาค

       
ข.  ฝ่ายราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายความมั่นคง ฝ่ายบริหารราชการทั่วไป และฝ่ายบริหารราชการส่วนภูมิภาค


       
ค.  ฝ่ายบริหารราชการทั่วไป ฝ่ายกิจการพิเศษ ฝ่ายความมั่นคง และฝ่ายราชการบริหารส่วนภูมิภาค

       
ง.  ฝ่ายราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ฝ่ายบริหารราชการทั่วไป ฝ่ายกิจการพิเศษ และฝ่ายความมั่นคง

       
จ.  ฝ่ายบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ฝ่ายกิจการพิเศษ ฝ่ายราชการบริหารส่วนภูมิภาค และฝ่ายความมั่นคง 

31. 
ตามโครงสร้างการแบ่งานเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อยู่ในความรับผิดชอบของฝ่ายใดในที่ทำการปกครองจังหวัด..เเอ๊คกรุ๊ป


       
ก.  ฝ่ายปกครอง                                                                            ข.  ฝ่ายท้องถิ่น

       
ค.  ฝ่ายกิจการพิเศษ                                                                     ง.  ฝ่ายการเงินและบัญชี

       
จ.  ฝ่ายป้องกันจังหวัด

32. 
จังหวัดแบ่งส่วนราชการเป็น

       
ก.  สำนักเลขานุการจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัด

       
ข.  สำนักเลขานุการจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด และอำเภอ

       
ค.  สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัด

       
ง.  สำนักงานจังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด และอำเภอ

       
จ.  สำนักงานจังหวัด สำนักงานเลขานุการจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัด

33. 
สำนักงานอำเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอำเภอ ใครเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชา

       
ก.  ปลัดอำเภอหัวหน้าฝ่ายปกครองและพัฒนา                     ข.  ปลัดอำเภองานสำนักงานอำเภอ

       
ค.  ปลัดอาวุโส                                                                              ง.  นายอำเภอ

       
จ.  ถูกทั้ง ก. และ ค.

34. 
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนนายอำเภอ

       
ก.  ผู้ว่าราชการจังหวัด                                                                ข.  ที่ประชุมคณะกรรมการจังหวัด

       
ค.  ปลัดจังหวัด                                                                             ง.  นายอำเภอ

       
จ.  ผิดทุกข้อ

35. 
การปรับปรุงานทะเบียนและบัตรประจำตัวประชาชน ให้มีประสิทธิภาพสามารถบริการประชาชนได้อย่าง        รวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัยและรัดกุมเป็น

       
ก.  นโยบายกรมการปกครอง การบริหารและการเมือง

       
ข.  นโยบายรักษาความสงบเรียบร้อยและเสริมสร้างความมั่นคงภายใน

       
ค.  นโยบายการพัฒนาชนบทและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

       
ง.  นโยบายการพัฒนาสังคม

       
จ.  นโยบายการพัฒนาเมือง

36.
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประกอบด้วย

       
ก.  จังหวัด อำเภอ                                                                         ข.  จังหวัด สภาตำบล

       
ค.  องค์การบริหารส่วนจังหวัด อำเภอ                                    ง.  อำเภอ สภาตำบล

       
จ.  องค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาตำบล

37. 
คณะกรรมการพัฒนาอำเภอ (กพอ.) ประกอบด้วย..เเอ๊คกรุ๊ป

       
ก.  นายอำเภอ เป็นประธาน และพัฒนาการอำเภอเป็นเลขานุการ

       
ข.  นายอำเภอ เป็นประธาน และปลัดอำเภอเป็นเลขานุการ

       
ค.  นายอำเภอ เป็นประธาน และเกษตรกรอำเภอเป็นเลขานุการ

       
ง.  นายอำเภอ เป็นประธาน และปลัดอำเภอหัวหน้าฝ่ายปกครองและพัฒนาเป็นเลขานุการ

       
จ.  นายอำเภอ เป็นประธาน และปลัดอำเภองานพัฒนาท้องที่เป็นเลขานุการ

38. 
กองใดที่ไม่ได้มีบทบาทอำนาจหน้าที่หลักในการส่งเสริมหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคของกรมการปกครอง

       
ก.  กองปกครองท้องที่                                     


เฉลยแนวข้อสอบปลัดอำเภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 3 ) ปี 2535

เป็นคำตอบ ณ ปีนั้น)

1.  ก.                           2.  ง.                               3.   จ.                           4.  ค.                       5.  ข.

6.  ก.                           7.  ค.                               8.   ง.                           9.  ง.                      10.  จ.

11.  ง.                         12.  ง.                             13.  ข.                          14.  จ.                     15.  ข.

16.  ค.                        17.  ก.                             18.  ข.                          19.  ค.                     20.  ง.

21.  จ.                         22.  จ.                             23.  ก.                          24.  จ.                     25.  จ.

26.  ง.                         27.  ข.                             28.  จ.                          29.  ง.                     30.  ก.

31.  ก.                         32.  ค.                             33.  ง.                          34.  ก.                    35.  ข.

36.                            37.  ง.                             38  ข.       

เข้าไปดาวโหลดฟรีที่ www.kosobthai.com ครับ
                                   http://www.kosobthai.com/index.php?m=bbs
  
****************